มูลค่าของเงินตามเวลา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ค่าของทุน The Cost of Capital
การใช้ถั่วมะแฮะในอาหารสุกรระยะเจริญเติบโต

พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
การประเมินมูลค่าหุ้นสามัญ
ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน
การประเมินราคาตราสารหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้เป็นหุ้นส่วน
Advance Excel.
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
เราควรมีเงินเก็บเท่าไรก่อนที่คิดจะลงทุน
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ที่เป็นผลต่างของกำลังสอง
บทที่ 1 อัตราส่วน.
อ.สมาภรณ์ เย็นดีภาควิชาคอมพิวเตอร์อาคาร 18 ชั้น 2 Tel
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
สถานการณ์การเงินการคลัง
รายงานสรุปสถานการณ์น้ำ ประจำวันที่ 20 มิถุนายน 2557
การแปลงภาพสีเทาให้เป็นภาพขาวดำ
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
คณิตศาสตร์ แสนสนุก.
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (2)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน(1)
สรุปผลการดำเนินงานบริหารเวชภัณฑ์ (ตามรายงาน ADMIN)
รายงานสถานภาพงบประมาณ
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การจัดทำงบการเงินประจำปี ประกอบด้วย.
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลา ( TIME VALUE OF MONEY )
ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี งบประมาณ พ. ศ.2556 ณ วันที่ 30 กันยายน 2556 หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ วงเงิน งบประม าณ ผลการเบิกจ่าย เบิกจ่า ย คงเหลื
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
การบัญชีเกี่ยวกับตั๋วขาดความเชื่อถือ
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
การสร้างแบบเสื้อและแขน
การสอบแข่งขันทักษะคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา (รอบที่ 1 คิดเลขเร็ว)
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ช่วงเทศกาลปีใหม่ ปี ,590 ครั้ง.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตุลาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
การปรับเงินเดือน กรณีที่เงินเดือนยังไม่ถึงขั้นต่ำของระดับ
ตัวอย่าง : ประสิทธิภาพในการผลิต คำถาม : ให้การผลิตสินค้าชนิดหนึ่งมีผู้ผลิต 2 ราย ที่มี Production function เหมือนกันดังนี้ q = K 0.25 L 0.75 ราย A ใช้
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มูลค่าของเงินตามเวลา มูลค่าเงินในอนาคต มูลค่าปัจจุบัน Sansanee Thebpanya School of Business Administration

Time lines แสดงเวลาที่กระแสเงินสดเกิดขึ้น 1 2 3 i% CF0 CF1 CF2 CF3 จุดแบ่งช่วงในตอนปลายงวด; t=0 คือวันนี้ t=1 คือปลายงวดที่ 1 หรือต้นงวดที่ 2 Sansanee Thebpanya School of Business Administration

Time line สำหรับเงิน 100 บาท ในตอนปลายปีที่ 2 1 2 ปี i% 100 Sansanee Thebpanya School of Business Administration

Time line สำหรับ ordinary annuity ของเงิน 100 บาท เป็นเวลา 3 ปี 1 2 3 i% 100 100 100 Sansanee Thebpanya School of Business Administration

School of Business Administration Time line สำหรับเงินงวดที่ไม่เท่ากัน: -50 บาท ที่ t = 0, 100, 75, และ 50 บาท ณ ตอนปลายปีที่ 1 ถึง 3 1 2 3 i% -50 100 75 50 Sansanee Thebpanya School of Business Administration

หามูลค่าในอนาคตของเงิน 100 บาท ในปีที่ 3 ถ้า i = 10% 1 2 3 10% 100 FV = ? การหา FVs (เคลื่อนไปทางขวาบน time line) เรียกว่า การคิดทบต้น (compounding) Sansanee Thebpanya School of Business Administration

School of Business Administration หลังจากปีที่ 1: FV1 = PV + INT1 = PV + PV (i) = PV(1 + i) = 100(1.10) = 110.00 บาท หลังจากปีที่ 2: FV2 = PV(1 + i)2 = 100(1.10)2 = 121.00 บาท Sansanee Thebpanya School of Business Administration

School of Business Administration หลังจากปีที่ 3: FV3 = PV(1 + i)3 = 100(1.10)3 = 133.10 บาท สรุปได้ว่า, FVn = PV(1 + i)n. Sansanee Thebpanya School of Business Administration

หามูลค่าปัจจุบัน (PV) ของเงิน 100 บาทที่เกิดขึ้นในปีที่ 3 ถ้า i = 10% การหา PVs คือการคิดลด (discounting) ซึ่งเป็นส่วนกลับของการทบต้น 1 2 3 10% PV = ? 100 Sansanee Thebpanya School of Business Administration

School of Business Administration Solve FVn = PV(1 + i )n for PV: 3 1   PV = 100     1.10 = 100  0.7513  = 75.13 บาท Sansanee Thebpanya School of Business Administration

การหาระยะเวลาที่ทำให้มูลค่าในอนาคตเป็นสองเท่าของมูลค่าเริ่มต้น 1 2 ? 20% -1 2 FV = PV(1 + i)n 2 = 1(1 + 0.20)n (1.2)n = 2/1 = 2 nLN(1.2) = LN(2) n = LN(2)/LN(1.2) n = 0.693/0.182 = 3.8 Sansanee Thebpanya School of Business Administration

School of Business Administration หาอัตราดอกเบี้ยที่ทำให้เงิน 100 บาทกลายเป็น 125.97 บาทในอีก 3 ปีข้างหน้า 100(1 + i )3 = 125.97. (1 + i)3 = 125.97/100 = 1.2597 1 + i = (1.2597)1/3 = 1.08 i = 8%. Sansanee Thebpanya School of Business Administration

ข้อแตกต่างระหว่าง ordinary annuity และ annuity due 1 2 3 i% PMT PMT PMT Annuity Due 1 2 3 i% PMT PMT PMT PV FV Sansanee Thebpanya School of Business Administration

School of Business Administration หามูลค่าในอนาคต (FV) ของเงินงวด 3 ปี งวดละ 100 บาท (ordinary annuity) ที่อัตราทบต้น 10% 1 2 3 10% 100 100 100 110 121 FV = 331 Sansanee Thebpanya School of Business Administration

หามูลค่าปัจจุบัน (PV) ของ ordinary annuity 1 2 3 10% 100 100 100 90.91 82.64 75.13 248.69 = PV Sansanee Thebpanya School of Business Administration

หา FV และ PV ถ้าเงินงวดเกิดตอนต้นงวด (annuity due) 1 2 3 10% 100 100 100 Sansanee Thebpanya School of Business Administration

หา FV: ของเงินงวด (annuity due) งวดละ $100 เป็นเวลา 3 ปี ที่ 10% 1 2 3 10% 100 100 100 110.0 121.0 133.1 FV = 364.1 Sansanee Thebpanya School of Business Administration

หาค่า PV: ของเงินงวด (annuity due) งวดละ $100 เป็นเวลา 3 ปี ที่ 10% 1 2 3 10% 100 100 100 90.91 82.64 273.55 = PV Sansanee Thebpanya School of Business Administration

หา PV ของกระแสเงินสดที่ไม่เท่ากันในแต่ละงวด 1 2 3 4 10% 100 300 300 -50 90.91 247.93 225.39 -34.15 530.08 = PV Sansanee Thebpanya School of Business Administration

School of Business Administration มากขึ้น! ถ้าการคิดทบต้นถี่ขึ้น คือมากกว่าปีละครั้ง เช่นทุกครึ่งปี ทุกไตรมาส หรือทุกวัน ดอกเบี้ยที่จะคิดจากดอกเบี้ยทบต้นก็จะมากขึ้น Sansanee Thebpanya School of Business Administration

School of Business Administration 1 2 3 10% 100 133.10 ทบต้นทุกปี: FV3 = 100(1.10)3 = 133.10 บาท 1 2 3 1 2 3 4 5 6 5% 100 134.01 ทบต้นทุกครึ่งปี: FV6 = 100(1.05)6 = 134.01 บาท Sansanee Thebpanya School of Business Administration