(Material Requirement Planning)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
คำอธิบายรายวิชา ระบบธุรกิจ วัฏจักรของการพัฒนาระบบงาน ระเบียบ วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ ผังงานระบบ ตารางและการตัดสินใจ การศึกษาความเป็นไปได้ของระบบการวิเคราะห์ความคุ้มค่าในการลงทุนในการพัฒนา.
รายงานโครงการหมายเลข COE
Development of e-Office System for Computer Centre at Khon Kaen University COE นาย กรีชา ซื่อตรง รหัส นาย ปรเมศวร์ มาพิทักษ์ รหัส.
(Material Requirement Planning)
TinyERP ภาษาไทย นางสาว รัตติกาล สุวรรณธาดา
(Material Requirement Planning)
การพัฒนาระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ สำหรับมหาวิทยาลัยขอนแก่น
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
โดย นายชยกร พิมพานนท์ นางสาวนพวรรณ์ ไสลรัตน์
COE Electronic Voting System
เว็บเซอร์วิสเรียกง่าย
ระบบประเมินผลกระทบความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมโรงงานอุตสาหกรรม
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
การเขียนผังงาน.
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
(Meterial Requirement Planning)
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทนำ การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
Business Modeling (บางส่วนอ้างอิงจาก ดร.อดิศร ณ อุบล)
Object-Oriented Analysis and Design
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
การวางแผนและการดำเนินงาน
Object-Oriented Analysis and Design
Example Use Case Diagram
Example Class Diagram.
Surachai Wachirahatthapong
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
CAD / CAM CAD : COMPUTER AIDED DESIGN การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ
บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
System Development Lift Cycle
โครงสร้างขององค์กร (Organization Structure)
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
การวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
1 UIE research Activities for research training
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ชื่อหัวข้อโครงงาน (ภาษาไทย) Project Title (English)
การเขียนผังงาน (Flowchart)
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
Activity Diagram Wattanapong suttapak, Software Engineering,
Modeling and Activity Diagram
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
ADDIE Model.
Unified Modeling Language
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ชนิดของซอฟต์แวร์ (2).
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
State Diagram Wattanapong suttapak, Software Engineering,
UML (Unified Modeling Language)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(Material Requirement Planning) COE2003-02 MRP แนะนำ project (Material Requirement Planning)

ระบบบริหารแผนงานการใช้วัสดุเพื่อการผลิต ผู้เสนอโครงการ นายสมัชชา สีหบุตร นายอัครวัตร คูณคำตา อาจารย์ที่ปรึกษา อ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติกูล อาจารย์ร่วมประเมิน อ. วิโรจน์ ทวีปวรเดช อ. อนัตต์ เจ่าสกุล ไม่มีอะไร

สิ่งที่จะนำเสนอ ทบทวนสิ่งที่นำเสนอที่ผ่านมา แนะนำ Unified Model Language (UML) ความก้าวหน้าของโครงการ ผลงานที่ได้จาก Pre - project สรุปโครงการ

MRP คืออะไร ? MRP คือ การวางแผนความต้องการวัสดุ โดยการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนการผลิต การจัดซื้อวัตถุดิบ เพื่อให้มีสินค้าคงคลังน้อยที่สุด และสามารถส่งสินค้าให้ลูกค้าได้ ตรงเวลา เพื่อทำให้ระบบการไหลเวียนวัสดุขององค์กรมีประสิทธิภาพ. พูดตามสไลด์

การทำงานของระบบ MRP On-hand Inventory Scheduled Receipts BOM MPS MRP: Netting Lot sizing Offsetting BOM exploding อธิบายคำศัพท์ input output รวมทั้งขั้นตอนต่างๆ Planned Order Releases Change Notices Exception Notices

Unified Modeling Language UML เป็นภาษาที่ใช้ในการอธิบายโมเดลเชิงวัตถุในรูปแบบของ กราฟฟิคเป็นสัญลักษณ์ ซึ่งโมเดลที่สร้างขึ้นจะสามารถช่วยให้เข้าใจปัญหาได้ง่ายขึ้น และยังสามารถนำโมเดลมาเป็นเครื่องมือในการสื่อสารถ่ายถอดความคิดกับบุคคลอื่น ๆ ได้ง่ายขึ้น เช่น นักวิเคราะห์ ลูกค้า เป็นต้น นอกจากนี้การสร้างโมเดลยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในการพัฒนา

ทำไมต้องใช้ UML UML เป็นภาษาสากลและง่ายต่อการทำความเข้าใจ ที่ใช้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์เชิงวัตถุ ช่วยให้ระบบขนาดใหญ่ที่อาศัยการทำงานเป็นทีม มีทิศทางเดียวกัน ไม่ผูกติดกับภาษาโปรแกรมใดภาษาหนึ่ง สามารถแปลไปเป็นระบบจริงที่ถูกสร้างขึ้นด้วยภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุใด ๆ ก็ได้โดยอัตโนมัติ จึงช่วยลดเวลา และค่าใช้จ่ายในการพัฒนาระบบได้เป็นอย่างมาก

ไดอะแกรมที่ใช้ใน UML ยูสเคสไดอะแกรม (Use Case Diagram) คลาสไดอะแกรม (Class Diagram) แอ็กทิวิตี้ไดอะแกรม (Activity Diagram) ซีเควนซ์ไดอะแกรม (Sequence Diagram) สเตตชาร์ตไดอะแกรม (Statechart Diagram) คอลแลบอเรชั่นไดอะแกรม (Collaboration Diagram) คอมโพเนนต์ไดอะแกรม (Component Diagram) ดีพลอยเมนต์ไดอะแกรม (Deployment Diagram)

Use case Diagram เป็นไดอะแกรมที่ใช้เพื่อให้ผู้พัฒนาทราบถึงความสามารถของระบบ ว่ามีความสามารถอะไรบ้างและเกิดความง่ายในการสื่อสารระหว่างผู้พัฒนากับลูกค้า สัญลักษณ์ที่ใช้ 1. ยูสเคส (Use Case) 2. แอ็กเตอร์ (Actor) 3. เส้นแสดงความสัมพันธ์ (Relationship)

Sequence Diagram เป็นไดอะแกรมใช้เพื่อแสดงว่าวัตถุติดต่อสื่อสารกันอย่างไร มีขั้นตอนการทำงานอย่างไร โดยจะเน้นไปที่แกนเวลาเป็นสำคัญ มีองค์ประกอบอยู่ 3 ส่วน 1. Object name 2. Messages 3.Time

Activity Diagram เป็นไดอะแกรมลักษณะเดียวกับโฟลว์ชาร์ต (flowchart) ใช้สำหรับแสดงขั้นตอนของการทำงานของระบบ โดย Activity Diagram จะมีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด สำหรับการอ่านค่าจะอ่านจากบนลงล่าง สัญลักษณ์เกี่ยวกับ Activity Diagram คือ Initial State แสดงสถานะจุดเริ่มต้น Final State แสดงสถานะจุดสิ้นสุด State ใช้เพื่อบอกสถานะ การทำงานของกิจกรรมนั้น Decision ใช้เป็นตัวเลือกในการตัดสินใจ Control Flow ใช้เพื่อย้ายการทำงานของกิจกรรม

Class Diagram เป็นโมเดลที่ใช้ช่วยให้ทราบว่าสิ่งที่เราทำการออกแบบควรจะมีคุณสมบัติและพฤติกรรมอย่างไรต่อระบบงานของเรา โดยสัญลักษณ์ที่ใช้แทนคลาสจะใช้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ชื่อคลาส (name) แอตตริบิวต์ (attributes) โอเปอร์เรชัน (operations)

แผนการดำเนินงาน รายการ ระยะเวลา มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 1. ทำการศึกษาเกี่ยวกับ UML และการสร้างระบบ ฐานข้อมูลโดยใช้ SQL Server 2. ทำการสำรวจและเก็บข้อมูลของระบบโรงงาน 3. ทำการออกแบบ UML ที่ใช้ในการพัฒนาระบบ 4. ทำการออกแบบระบบฐานข้อมูล 5. ติดตั้งระบบบริการฐานข้อมูล 6. เขียนโปรแกรมประยุกต์ด้วยภาษา C# (Visual Studio .NET) 7. ทำการทดสอบโปรแกรม 8. สรุปรายงาน และ จัดทำคู่มือในการใช้โปรแกรม

ความคืบหน้าของโครงการ ทำการรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมของระบบโรงงาน Energy System ทำการออกแบบ Unified Model Language (UML) ทำการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล พูดตามสไลด์ อาจเพิ่มเติมรายละเอียดอีกนิดหน่อยเกี่ยวกับ scope ของงาน

พูดตามสไลด์ อาจเพิ่มเติมรายละเอียดนิดหน่อย เพื่อให้เข้าใจมากขึ้น

สิ่งที่จะทำในต่อไป การออกแบบฐานข้อมูล นำ Class Diagram ซึ่งมีลักษณะเป็น OOP มาทำการออกแบบฐานข้อมูลใน SQL Server ซึ่งมีลักษณะเป็น RDBMS การเขียนโปรแกรมประยุกต์ นำ Diagram ทั้งหมดที่ได้ออกแบบไว้สร้างโปรแกรมประยุกต์โดยใช้ภาษา C# ในการเขียนโปรแกรม

สรุปโครงการ จัดทำซอฟท์แวร์ระบบบริหารแผนงานการใช้วัสดุเพื่อการผลิต รายละเอียดในการจัดทำ ภาคการศึกษาต้น สร้าง UML และฐานข้อมูลทั้งหมด ภาคการศึกษาปลาย เขียนโปรแกรมด้วยภาษา C# เพื่อสร้างโปรแกรมของระบบ

จบการนำเสนอ