ชุดที่ 4 แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
การพยากรณ์ด้านพลังงาน (Energy Forecasting) (ต่อ)
สโมสรทหารบก ห้องเทวกรรมรังรักษ์ ชั้น 2
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
โลกร้อนกับการอนุรักษ์พลังงาน
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
ผู้จัดทำ 1.นายกิตติพงศ์ ทีภูเวียง เลขที่ 1
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
1 2 ตามลักษณะ เศรษฐกิจ งบประมา ณ ตาม พ. ร. บ. ( ล้าน บาท ) ได้รับ จัดสรร ( ล้าน บาท ) เบิกจ่าย ร้อย ละ / งบ จัดสร ร สำนัก ชลประทานที่ 13 1,164,64 0,305.
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
รายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
25 กุมภาพันธ์ 2547 คริส และ ชื่นชม กรีเซน
สรุปผลการดำเนินงานบริหารเวชภัณฑ์ (ตามรายงาน ADMIN)
รายงานสถานภาพงบประมาณ
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
กำลังการผลิตไฟฟ้า ตัวเลขปี 2542.
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ประเภทสัญญา Firm (1)
การรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP (1)
การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน
ประมาณการภาพรวมพลังงานไทย ( )
สถานการณ์ ด้านพลังงานของโลก
ดุลยภาพพลังงานของประเทศไทย(Energy Balance)
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 4) พ. ศ
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง มาตรการป้องกัน แก้ไข และติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับผู้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมสำหรับการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชีว
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี งบประมาณ พ. ศ.2556 ณ วันที่ 30 กันยายน 2556 หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ วงเงิน งบประม าณ ผลการเบิกจ่าย เบิกจ่า ย คงเหลื
ปัจจัยผลักดันต่อการพัฒนาพลังงานไฟฟ้า
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า จากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก พ.ศ. 2550
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ทิศทางการลงทุนธุรกิจพลังงานทางเลือก ของประเทศไทย
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
ศุภกิจ นันทะวรการ มูลนิธินโยบายสุขภาวะ 22 มีนาคม 2553
RDF/ MSW Industry for Thailand
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
การปรับเงินเดือน กรณีที่เงินเดือนยังไม่ถึงขั้นต่ำของระดับ
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชุดที่ 4 แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย

เอกสารอ้างอิง แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2551-2564 (Power Development Plan 2007 Revision 2 หรือ PDP 2007 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2)

แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า หรือ Power development plan (PDP) ของไทยจัดทำโดย กฟผ. และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง PDP คือแผนการก่อสร้างโรงไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ เพื่อให้มีกำลังผลิตไฟฟ้า ในเวลาที่เหมาะสม เพื่อสนองความต้องการใช้ไฟฟ้าใน 10-15 ปีข้างหน้า

วัตถุประสงค์ที่ใช้ในการวางแผน เพื่อให้ได้แผนที่มีต้นทุนต่ำสุดในการผลิตพลังงานไฟฟ้า เพื่อให้การผลิตพลังงานไฟฟ้ามีคุณภาพและระบบไฟฟ้ามีความมั่นคงอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมตามที่กฎหมายกำหนด

ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ ผลการศึกษา เบื้องต้น นโยบาย Optimization โดย Computer Software “Strategist” ข้อมูลระบบไฟฟ้า การพิจารณา - กฟผ. กระทรวงพลังงาน - สนพ. พยากรณ์ ความต้องการไฟฟ้า รับฟังความคิดเห็น นักวิชาการ ผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ ข้อมูลเชื้อเพลิง แผน PDP คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ให้ความเห็น กระทรวงพลังงาน กพช. เพื่อความเห็นชอบ ครม. เพื่อรับทราบ

ข้อมูลที่ใช้ในการวางแผน PDP นโยบายพลังงานของประเทศ ข้อมูลระบบกำลังผลิตไฟฟ้าในปัจจุบัน ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าระยะยาว ข้อมูลเชื้อเพลิง

ข้อมูลที่ใช้ในการวางแผน PDP นโยบายพลังงานของประเทศ ข้อมูลระบบกำลังผลิตไฟฟ้าในปัจจุบัน ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าระยะยาว ข้อมูลเชื้อเพลิง

นโยบายพลังงานของประเทศ ไฟฟ้าต้นทุนต่ำสุด ทุกคนทั่วประเทศได้มีโอกาสใช้ไฟฟ้า ระบบไฟฟ้ามีคุณภาพ และมั่นคง มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย ใช้เชื้อเพลิงในประเทศมากขึ้น

ข้อมูลที่ใช้ในการวางแผน PDP นโยบายพลังงานของประเทศ ข้อมูลระบบกำลังผลิตไฟฟ้าในปัจจุบัน ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าระยะยาว ข้อมูลเชื้อเพลิง

กำลังผลิตแยกตามประเภทโรงไฟฟ้า ความต้องการไฟฟ้าสูงสุด (21 เมษายน 2551) 22,568.2 เมกะวัตต์ กำลังผลิตติดตั้งรวม (ณ 31 ธันวาคม 2551) 29,891.7 เมกะวัตต์ พลังความร้อนร่วม15,602.0 MW 52.2% พลังความร้อน8,965.6 MW 30.0% พลังน้ำ 3,424.2 MW 11.5% พลังงานทดแทน288.1 MW 0.9% กังหันแก๊สและเครื่องยนต์ดีเซล 971.4 MW 3.3% สายส่งเชื่อมโยง มาเลเซีย 300 MW 1.0% สปป. ลาว 340 MW 1.1% PDP 2007 Revised 2

กำลังผลิตแยกตามผู้ผลิต ความต้องการไฟฟ้าสูงสุด (21 เมษายน 2551) 22,568.2 เมกะวัตต์ กำลังผลิตติดตั้งรวม (ณ 31 ธันวาคม 2551) 29,891.7 เมกะวัตต์ กฟผ. 15,021.0 MW 50.3% IPP 12,151.6 MW 40.7% SPP 2,079.1 MW 7.0% สายส่งเชื่อมโยง มาเลเซีย 300 MW 1.0% สปป. ลาว 340 MW 1.1% PDP 2007 Revised 2 11

การผลิตพลังงานไฟฟ้า ปี2551 (แบ่งตามประเภทเชื้อเพลิง) พลังงานทดแทน 1.4% ถ่านหินนำเข้า 8.2% น้ำมันเตา 1.0% ก๊าซธรรมชาติ 70.0% ลิกไนต์ 12.6% พลังน้ำ 4.7% ดีเซล 0.2 % สปป. ลาว 1.6% มาเลเซีย 0.3 % รวมพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตและซื้อ 148,197 ล้านหน่วย PDP 2007 Revised 2 12 12 12

การผลิตพลังงานไฟฟ้า ปี2551 (แบ่งตามผู้ผลิต) กฟผ. 63,909 GWh 43 % IPP, SPP 81,497 GWh 55 % ซื้อต่างประเทศ 2,791 GWh 2 % รวมพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตและซื้อ 148,197 ล้านหน่วย PDP 2007 Revised 2 13

การรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ในระบบ กฟผ. ก๊าซธรรมซาติ 1,413 MW 68.0% ถ่านหิน 370 MW 17.8% น้ำมันเตา 9 MW 0.4% น้ำมันยางดำ 25 MW 1.2% ทะลายปาล์ม 9 MW 0.4% แกลบและเศษไม้ 169 MW 8.1% กากอ้อย 84 MW 4.0% (ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2551) SPP-Firm : กำลังผลิตไฟฟ้าตามสัญญา : 2,079 MW แกลบและเศษไม้ 5 MW 2.5% น้ำมันเตา 45 MW 21.8% กากอ้อย 82 MW 39.5% ก๊าซธรรมชาติที่เป็น ผลพลอยได้ จากการผลิตน้ำมัน 2 MW 0.8% ก๊าซธรรมซาติ 52 MW 25.3% ถ่านหิน 14 MW 6.8% ขยะ 1 MW 0.5% SPP-Non Firm : กำลังผลิตไฟฟ้าตามสัญญา : 206 MW Waste Gas 6 MW 2.9% 14 PDP 2007 Revised 2 14 14

ข้อมูลที่ใช้ในการวางแผน PDP นโยบายพลังงานของประเทศ ข้อมูลระบบกำลังผลิตไฟฟ้าในปัจจุบัน ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าระยะยาว ข้อมูลเชื้อเพลิง

ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าระยะยาว คณะอนุกรรมการการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า ได้จัดทำค่าพยากรณ์โดยจัดทำเป็นสามกรณีคือ กรณีฐาน กรณีต่ำ และกรณีสูง (แบ่งตามแนวโน้มการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจไทย) นำค่าพยากรณ์การผลิตพลังไฟฟ้าสูงสุดและพลังงานไฟฟ้า (กรณีฐาน) มาใช้ประกอบในการจัดทำ PDP

ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าในระบบของ กฟผ. (กรณีฐาน) ชุด ธันวาคม 2551 ปี พลังไฟฟ้าสูงสุด พลังงานไฟฟ้า % เมกะวัตต์ เพิ่ม ล้านหน่วย Load Factor 2008 (2551) 22,017 -19 -0.09 147,229 3,487 2.43 76.34 2009 (2552) 22,886 869 3.95 150,458 3,229 2.19 75.05 2010 (2553) 23,936 1,050 4.59 155,645 5,187 3.45 74.23 2011 (2554) 25,085 1,149 4.80 162,884 7,239 4.65 74.12 2012 (2555) 26,572 1,487 5.93 172,593 9,709 5.96 74.15 2013 (2556) 28,188 1,616 6.08 183,218 10,625 6.16 74.20 2014 (2557) 29,871 1,683 5.97 194,326 11,108 6.06 74.26 2015 (2558) 31,734 1,863 6.24 206,604 12,278 6.32 74.32 2016 (2559) 33,673 1,939 6.11 219,339 12,735 74.36 2017 (2560) 35,668 1,995 5.92 232,413 13,074 74.38 2018 (2561) 37,725 2,057 5.77 245,950 13,537 5.82 74.42 2019 (2562) 39,828 2,103 5.57 259,740 13,790 5.61 74.45 2020 (2563) 42,024 2,196 5.51 274,144 14,404 5.55 74.47 2021 (2564) 44,281 2,257 5.37 288,920 14,776 5.39 74.48

ค่าพยากรณ์พลังไฟฟ้าในระบบ ของ กฟผ. เมกะวัตต์ กันยายน 50 ธันวาคม 51 กรณีฐาน

ค่าพยากรณ์พลังงานไฟฟ้าในระบบ ของ กฟผ. ล้านหน่วย กันยายน 50 ธันวาคม 51 กรณีฐาน

ข้อสังเกต คาดการณ์ว่าค่าสูงสุดในการผลิตพลังไฟฟ้าสูงสุดและผลิตพลังงานไฟฟ้าจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยอัตราการเพิ่มเฉลี่ยอยู่ประมาณ 3% ถึง 6% (ใกล้เคียงกับประมาณการณ์การเจริญเติบโตของ GDP ที่ใช้ในการพยากรณ์ในกรณีฐาน)

ข้อมูลที่ใช้ในการวางแผน PDP นโยบายพลังงานของประเทศ ข้อมูลระบบกำลังผลิตไฟฟ้าในปัจจุบัน ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าระยะยาว ข้อมูลเชื้อเพลิง

ข้อสังเกต ราคาเชื้อเพลิงไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก เชื้อเพลิงบางชนิดมีราคาคงที่ (เช่นน้ำมันดีเซล) นิวเคลียร์มีราคาเชื้อเพลิงที่ต่ำที่สุด

โรงไฟฟ้า กำลังผลิต (MW) ต้นทุน (บาท/kWh) นิวเคลียร์ 1000 2.08 ความร้อนจากถ่านหิน 700 2.12 พลังความร้อนร่วมก๊าซ 2.29 ความร้อนจากน้ำมัน 4.12 กังหันก๊าซ 230 7.93 แสงอาทิตย์ 2 20.20 กังหันลม 4 5.98 ขยะ/ของเสีย 20 4.63 ชีวมวล 35 2.63

แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ ( ปี 2552 - 2557)

แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ ( ปี 2558 - 2564)

แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ ( ปี 2558 - 2564)

สัดส่วนกำลังผลิตไฟฟ้าแยกตามผู้ผลิต (PDP2007 : ฉบับปรับปรุงครั้งที่2)

สัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าแยกตามประเภทเชื้อเพลิง ล้านหน่วย 4% 3% 2% 73% 70% 69% 67% 68% 65% 61% 62% 63% 60% 11% 10% 9% 8% 7% 6% 15% 19% 18% 17% 16% 5% ปี (PDP 2007 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2)

ข้อสังเกต กฟผ. ผลิตครึ่งหนึ่งของทั้งหมด ใช้เชื้อเพลิงถ่านหินนำเข้าและซื้อไฟฟ้าจากเพื่อนบ้านในสัดส่วนสูงขึ้น ใช้พลังงานหมุนเวียนน้อย เริ่มใช้นิวเคลียร์ในปี 2563

ระดับความมั่นคง (Reliability Level) กำลังผลิตติดตั้ง (Installed Capacity) กำลังผลิตติดตั้ง หรือ กำลังผลิตที่ปรากฏอยู่บน Name Plate Derated Capacity กำลังผลิตที่ลดลงของเครื่อง ซึ่งเครื่องไม่สามารถเดินได้เต็มกำลัง กำลังผลิตพึ่งได้ (Dependable Capacity) กำลังผลิตพึ่งได้ เป็นกำลังผลิตที่ขึ้นอยู่กับสภาพของเครื่องหรือสภาวะแวดล้อม สำหรับโรงไฟฟ้าพลังน้ำกำหนดจากการศึกษาข้อมูลสถิติน้ำที่ไหลเข้าเขื่อน กำลังผลิตไฟฟ้าสำรอง (Reserve Margin) (%) Dependable Capacity = Installed Capacity – Derated Capacity Reserve Margin = Total Dependable Capacity - Peak x 100 Peak PDP 2007 Revised 2 33

ข้อกำหนดเรื่องความมั่นคง กำลังผลิตไฟฟ้าสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 15% ตัวชี้วัดโอกาสไฟฟ้าดับ (Loss of Load Probability: LOLP) ไม่เกิน 24 ชั่วโมงต่อปี PDP 2007 Revised 2

เปรียบเทียบกำลังผลิตไฟฟ้าสำรอง

สรุปสาระสำคัญ 1. ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า ณ สิ้นปี 2564 - พลังไฟฟ้า (Peak) : 44,281 MW - พลังงานไฟฟ้า (Energy) : 288,920 GWh 2. กำลังผลิตไฟฟ้าทั้งสิ้น ณ สิ้นปี 2564 - กำลังผลิตไฟฟ้า ณ สิ้นปี 2551 29,139.5 MW - กำลังผลิตที่เพิ่มขึ้น 30,390.8 MW - กำลังผลิตที่ปลดออก -7,502.3 MW - รวมกำลังผลิตทั้งสิ้นถึงปี 2564 52,028.0 MW 3. กำลังผลิตโครงการโรงไฟฟ้าใหม่ในช่วงปี 2552- 2564 หน่วย : MW ปี กฟผ. เอกชน รวม IPP SPP ประเทศเพื่อนบ้าน 2552 - 2557 3,769 4,400 1,986 1,737 11,892 2558 – 2564 12,000 3,200 - 3,300 18,500 15,769 7,600 1,985 5,037 30,392 PDP 2007 Revised 2 36 36

การรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน

การรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน

การรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน

PDP2007: แผนหลัก การปล่อยมลภาวะทางอากาศจากโรงไฟฟ้า ล้านตัน PDP2006 ผลต่าง CO2 1,924.79 1,837.95 86.84 SO2 2.38 1.56 0.82 NOX 1.98 1.72 0.26 Particulates 10.11 10.06 0.05 คาร์บอนไดออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ไนโตรเจนไดออกไซด์ ฝุ่นละออง