ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
Advertisements

การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
วัดตัวแปร(ตาม)การวิจัยในชั้นเรียน
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
GED 3801 การศึกษาและการมีส่วนร่วมในสถานศึกษา 1(60)
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
การศึกษารายกรณี.
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
แม่แบบแผนการจัดการเรียนรู้
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การประเมินผลการเรียน
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียนที่นิยม 5 แนวคิด
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
ประเภท ระดับ และพฤติกรรมการเรียนรู้
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(Competency Based Curriculum)
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
 ผู้วิจัย นายชัช อุ่น บุญธรรม  สังกัด วิทยาลัย เทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการ เชียงใหม่
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0) ผู้สอน อ.ไพรศิลป์ ปินทะนา สาขาวิชาการประเมินและการวิจัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

นักศึกษามีอะไรจะถาม เกี่ยวกับเนื้อหาที่ไปศึกษามาก่อน??? งานครั้งก่อน ตรวจแบบฝึกหัด หน่วยที่ 1 แต่ละกลุ่มเลือกเนื้อหาวิชาในกลุ่มสาระ ที่ตรงกับสาขาวิชาในกลุ่มค้นคว้าและสำเนาแผนการจัดการเรียนรู้มาอย่างน้อย 4 แผน (จุดประสงค์ด้าน K ต้องไม่น้อยกว่า 8) ศึกษาวางแผนการประเมินให้เหมาะสมตลอดการสอนเนื้อหา ศึกษาความเหมาะสมของการกำหนดวิธีการ เครื่องมือ วัดและประเมินผล ศึกษาความเหมาะสมของการกำหนดสัดส่วนและเกณฑ์การประเมิน การเขียนจุดประสงค์ อ่านหน่วยที่ 2 พฤติกรรมทางการศึกษา นักศึกษามีอะไรจะถาม เกี่ยวกับเนื้อหาที่ไปศึกษามาก่อน???

หน่วยที่ 2 พฤติกรรมทางการศึกษา หน่วยที่ 2 พฤติกรรมทางการศึกษา

ระบุพฤติกรรมทางการศึกษาที่ต้องการวัดและประเมินผลได้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ระบุพฤติกรรมทางการศึกษาที่ต้องการวัดและประเมินผลได้ อธิบายความหมาย พฤติกรรมพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัยได้ บอกลำดับขั้นการเกิดพฤติกรรมพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัยในระดับต่างๆ ได้ เขียนจุดประสงค์การเรียนการสอนในพฤติกรรมพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัยได้

พฤติกรรมทางการศึกษา พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียนภายหลังจากผ่านกระบวนการทางการศึกษาไปแล้ว ซึ่งจะระบุไว้ในจุดมุ่งหมายของการศึกษา เพื่อให้ครูผู้สอนได้ตระหนักอยู่เสมอว่าจะสอนอะไร จะสอนไปทำไม สอนให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะออกมาในรูปใด ดังนั้นในการสอน การวัดและประเมินผลการศึกษาครูจะต้องยึดพฤติกรรมทางการศึกษาเป็นหลัก ในวงการศึกษาปัจจุบัน นักการศึกษาต้องการที่จะประเมินผลการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยประเมินตามจุดประสงค์ที่สัมพันธ์กับการเรียนการสอน

C A P พฤติกรรมทางการศึกษา (กรมวิชาการ 2534) พฤติกรรมทางการศึกษา (กรมวิชาการ 2534) C A P พฤติกรรมพุทธิพิสัย (C: Cognitive Domain) ความคิด สมอง สติปัญญา จำแนกเป็น 6 ระดับ โดย Benjamin S. Bloomและคณะ (Bloom 1971) พฤติกรรมจิตพิสัย (A: Affective Domain) ค่านิยม ทัศนคติ ความสนใจ ความซาบซึ้ง เริ่มจากการรับรู้สิ่งแวดล้อม บุคคลจะมีปฏิกิริยาตอบโต้กับสิ่งแวดล้อมประกอบด้วย 5 ระดับขั้นตามแนวคิดของ แครทโฮล(David R. Krathwohl) ปี 1964 พฤติกรรมทักษะพิสัย (P: Psychomotor Domain) พฤติกรรมที่เกี่ยวกับกลไกความเคลื่อนไหว การใช้อวัยวะต่างๆของร่างกาย การประสานงานกล้ามเนื้อ ประสาท เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการผสมผสานพฤติกรรมพุทธิพิสัยกับจิตพิสัย แบ่งเป็น 5 ระดับตามแนวคิดของ ดาเว่(Dave 1969)

จุดประสงค์การเรียนรู้... กำหนดให้สอดคล้องกับสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนหลังจากสำเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งประกอบด้วย ด้านความรู้ ความคิด (Knowledge: K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม(Affective: A) ด้านทักษะกระบวนการ (Performance: P)

พฤติกรรมการศึกษา พุทธิพิสัย จิตพิสัย ทักษะพิสัย การรับ ความรู้-ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินค่า การรับ การตอบสนอง การให้ค่านิยม การจัดรวบรวม การพัฒนาลักษณะนิสัยจากค่านิยม เลียนแบบ ทำตามคำสั่ง ทำเพื่อความถูกต้อง ทำอย่างสร้างสรรค์ต่อเนื่อง ทำได้เหมือนธรรมชาติ

พุทธิพิสัย ความรู้-ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินค่า พุทธิพิสัย

การประเมินค่า การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ การนำไปใช้ ความเข้าใจ ความรู้-ความจำ

P28

P36

การเขียนจุดประสงค์การเรียนการสอนพฤติกรรมพุทธิพิสัย * นักเรียนสามารถ + คำกริยา + ส่วนขยายพฤติกรรมตามเนื้อหาวิชา * ตัวอย่าง เนื้อหา อาหารหลัก 5 หมู่ ระดับพฤติกรรม ความเข้าใจ คำกริยา ยกตัวอย่าง ประโยคจุดประสงค์การเรียนการสอน นักเรียนสามารถยกตัวอย่างอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตได้

นักเรียนสามารถ + คำกริยา + ส่วนขยายพฤติกรรมตามเนื้อหาวิชา ตัวอย่าง เนื้อหา อาหารหลัก 5 หมู่ ระดับพฤติกรรม การนำไปใช้ คำกริยา เลือก ประโยคจุดประสงค์การเรียนการสอน นักเรียนสามารถเลือกรับประทานอาหารประเภทโปรตีนได้

P38

P38 จิตพิสัย การรับ การตอบสนอง การให้ค่านิยม การจัดรวบรวม การพัฒนาลักษณะนิสัยจากค่านิยม จิตพิสัย

การรับ การตอบสนอง การให้ค่านิยม การจัดรวบรวม การพัฒนาลักษณะนิสัย จากค่านิยม

นักเรียน+ ลักษณะพฤติกรรม+ เนื้อหาวิชา+ คำกริยา +เนื้อหาวิชา การเขียนจุดประสงค์การเรียนการสอนพฤติกรรมจิตพิสัย นักเรียน+ ลักษณะพฤติกรรม+ เนื้อหาวิชา+ คำกริยา +เนื้อหาวิชา ตัวอย่างที่ 1 เนื้อหา การป้องกันโรคติดต่อ ระดับพฤติกรรม การรับ ลักษณะพฤติกรรม ตั้งใจฟัง คำกริยา ถาม ประโยคจุดประสงค์การเรียนการสอน นักเรียนตั้งใจฟังครูสอนเรื่องการป้องกันโรคติดต่อตลอดจนสามารถถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ตรงประเด็น

การเขียนจุดประสงค์การเรียนการสอนพฤติกรรมจิตพิสัย นักเรียน+ ลักษณะพฤติกรรม+ เนื้อหาวิชา+ คำกริยา +เนื้อหาวิชา ตัวอย่างที่ 2 เนื้อหา การวาดภาพเหมือน ระดับพฤติกรรม การให้ค่านิยม ลักษณะพฤติกรรม ซาบซึ้งในศิลปะ คำกริยา บรรยาย ประโยคจุดประสงค์การเรียนการสอน นักเรียนมีความซาบซึ้งในศิลปะภาพเหมือนและสามารถบรรยายรายละเอียดองค์ประกอบของภาพได้เป็นอย่างดี

ทักษะพิสัย เลียนแบบ ทำตามคำสั่ง ทำเพื่อความถูกต้อง ทำอย่างสร้างสรรค์ต่อเนื่อง ทำได้เหมือนธรรมชาติ ทักษะพิสัย

การเขียนจุดประสงค์การเรียนการสอนพฤติกรรมทักษะพิสัย นักเรียนสามารถ+พฤติกรรม+เนื้อหาวิชา + พฤติกรรมที่สังเกตได้ ตัวอย่างที่ 1 เนื้อหา การตอนกิ่ง ระดับพฤติกรรม ขั้นเลียนแบบ พฤติกรรมที่สังเกตได้ ทำได้ถูกวิธี ประโยคจุดประสงค์การเรียนการสอน นักเรียนสามารถทำการตอนกิ่งกุหลาบได้ถูกวิธี

การเขียนจุดประสงค์การเรียนการสอนพฤติกรรมทักษะพิสัย นักเรียนสามารถ+พฤติกรรม+เนื้อหาวิชา + พฤติกรรมที่สังเกตได้ ตัวอย่างที่ 2 เนื้อหา การอ่านออกเสียง ระดับพฤติกรรม ขั้นทำเพื่อหาความถูกต้อง พฤติกรรมที่สังเกตได้ ฝึกอ่านได้ถูกต้อง ประโยคจุดประสงค์การเรียนการสอน นักเรียนสามารถฝึกอ่านออกเสียงได้ถูกต้อง

KAP K – KNOWLEDGE ความรู้ A - ATTRIBUTES คุณลักษณะ ATTITUDE เจตคติ P – PERFORMANCE การปฏิบัติ (S-SKILLS ทักษะ)

พฤติกรรมการเรียนรู้ พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย (Cognitive domain) K พฤติกรรมด้านจิตพิสัย (Affective domain) A พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย (Psychomotor domain) P

สรุป การเขียนจุดประสงค์ สรุป การเขียนจุดประสงค์ พุทธิพิสัย นักเรียนสามารถ + คำกริยา + ส่วนขยายพฤติกรรมตามเนื้อหาวิชา นักเรียนสามารถเลือกรับประทานอาหารประเภทโปรตีนได้ จิตพิสัย นักเรียน+ ลักษณะพฤติกรรม+ เนื้อหาวิชา+ คำกริยา +เนื้อหาวิชา นักเรียนมีความซาบซึ้งในศิลปะภาพเหมือนและสามารถบรรยายรายละเอียดองค์ประกอบของภาพได้เป็นอย่างดี ทักษะพิสัย นักเรียนสามารถ+พฤติกรรม+เนื้อหาวิชา + พฤติกรรมที่สังเกตได้ นักเรียนสามารถฝึกอ่านออกเสียงได้ถูกต้อง

กิจกรรม แบ่งกลุ่มพิจารณาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ได้นำจุดประสงค์มาเขียนลงในแบบฟอร์ม “ตารางวิเคราะห์จุดประสงค์” พร้อมทั้งระบุพฤติกรรมทางการศึกษาที่ต้องการวัดและเครื่องมือที่เหมาะสม พิมพ์ลงในฟอร์มและส่งทาง email + CC ไปยังเพื่อนในกลุ่ม ภายในวันอาทิตย์ที่ 26 มิถุนายน 2554 โปรดระบุ Section และ กลุ่ม ให้ชัดเจน เมื่อส่งงานทาง email