ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0) ผู้สอน อ.ไพรศิลป์ ปินทะนา สาขาวิชาการประเมินและการวิจัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
นักศึกษามีอะไรจะถาม เกี่ยวกับเนื้อหาที่ไปศึกษามาก่อน??? งานครั้งก่อน ตรวจแบบฝึกหัด หน่วยที่ 1 แต่ละกลุ่มเลือกเนื้อหาวิชาในกลุ่มสาระ ที่ตรงกับสาขาวิชาในกลุ่มค้นคว้าและสำเนาแผนการจัดการเรียนรู้มาอย่างน้อย 4 แผน (จุดประสงค์ด้าน K ต้องไม่น้อยกว่า 8) ศึกษาวางแผนการประเมินให้เหมาะสมตลอดการสอนเนื้อหา ศึกษาความเหมาะสมของการกำหนดวิธีการ เครื่องมือ วัดและประเมินผล ศึกษาความเหมาะสมของการกำหนดสัดส่วนและเกณฑ์การประเมิน การเขียนจุดประสงค์ อ่านหน่วยที่ 2 พฤติกรรมทางการศึกษา นักศึกษามีอะไรจะถาม เกี่ยวกับเนื้อหาที่ไปศึกษามาก่อน???
หน่วยที่ 2 พฤติกรรมทางการศึกษา หน่วยที่ 2 พฤติกรรมทางการศึกษา
ระบุพฤติกรรมทางการศึกษาที่ต้องการวัดและประเมินผลได้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ระบุพฤติกรรมทางการศึกษาที่ต้องการวัดและประเมินผลได้ อธิบายความหมาย พฤติกรรมพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัยได้ บอกลำดับขั้นการเกิดพฤติกรรมพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัยในระดับต่างๆ ได้ เขียนจุดประสงค์การเรียนการสอนในพฤติกรรมพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัยได้
พฤติกรรมทางการศึกษา พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียนภายหลังจากผ่านกระบวนการทางการศึกษาไปแล้ว ซึ่งจะระบุไว้ในจุดมุ่งหมายของการศึกษา เพื่อให้ครูผู้สอนได้ตระหนักอยู่เสมอว่าจะสอนอะไร จะสอนไปทำไม สอนให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะออกมาในรูปใด ดังนั้นในการสอน การวัดและประเมินผลการศึกษาครูจะต้องยึดพฤติกรรมทางการศึกษาเป็นหลัก ในวงการศึกษาปัจจุบัน นักการศึกษาต้องการที่จะประเมินผลการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยประเมินตามจุดประสงค์ที่สัมพันธ์กับการเรียนการสอน
C A P พฤติกรรมทางการศึกษา (กรมวิชาการ 2534) พฤติกรรมทางการศึกษา (กรมวิชาการ 2534) C A P พฤติกรรมพุทธิพิสัย (C: Cognitive Domain) ความคิด สมอง สติปัญญา จำแนกเป็น 6 ระดับ โดย Benjamin S. Bloomและคณะ (Bloom 1971) พฤติกรรมจิตพิสัย (A: Affective Domain) ค่านิยม ทัศนคติ ความสนใจ ความซาบซึ้ง เริ่มจากการรับรู้สิ่งแวดล้อม บุคคลจะมีปฏิกิริยาตอบโต้กับสิ่งแวดล้อมประกอบด้วย 5 ระดับขั้นตามแนวคิดของ แครทโฮล(David R. Krathwohl) ปี 1964 พฤติกรรมทักษะพิสัย (P: Psychomotor Domain) พฤติกรรมที่เกี่ยวกับกลไกความเคลื่อนไหว การใช้อวัยวะต่างๆของร่างกาย การประสานงานกล้ามเนื้อ ประสาท เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการผสมผสานพฤติกรรมพุทธิพิสัยกับจิตพิสัย แบ่งเป็น 5 ระดับตามแนวคิดของ ดาเว่(Dave 1969)
จุดประสงค์การเรียนรู้... กำหนดให้สอดคล้องกับสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนหลังจากสำเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งประกอบด้วย ด้านความรู้ ความคิด (Knowledge: K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม(Affective: A) ด้านทักษะกระบวนการ (Performance: P)
พฤติกรรมการศึกษา พุทธิพิสัย จิตพิสัย ทักษะพิสัย การรับ ความรู้-ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินค่า การรับ การตอบสนอง การให้ค่านิยม การจัดรวบรวม การพัฒนาลักษณะนิสัยจากค่านิยม เลียนแบบ ทำตามคำสั่ง ทำเพื่อความถูกต้อง ทำอย่างสร้างสรรค์ต่อเนื่อง ทำได้เหมือนธรรมชาติ
พุทธิพิสัย ความรู้-ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินค่า พุทธิพิสัย
การประเมินค่า การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ การนำไปใช้ ความเข้าใจ ความรู้-ความจำ
P28
P36
การเขียนจุดประสงค์การเรียนการสอนพฤติกรรมพุทธิพิสัย * นักเรียนสามารถ + คำกริยา + ส่วนขยายพฤติกรรมตามเนื้อหาวิชา * ตัวอย่าง เนื้อหา อาหารหลัก 5 หมู่ ระดับพฤติกรรม ความเข้าใจ คำกริยา ยกตัวอย่าง ประโยคจุดประสงค์การเรียนการสอน นักเรียนสามารถยกตัวอย่างอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตได้
นักเรียนสามารถ + คำกริยา + ส่วนขยายพฤติกรรมตามเนื้อหาวิชา ตัวอย่าง เนื้อหา อาหารหลัก 5 หมู่ ระดับพฤติกรรม การนำไปใช้ คำกริยา เลือก ประโยคจุดประสงค์การเรียนการสอน นักเรียนสามารถเลือกรับประทานอาหารประเภทโปรตีนได้
P38
P38 จิตพิสัย การรับ การตอบสนอง การให้ค่านิยม การจัดรวบรวม การพัฒนาลักษณะนิสัยจากค่านิยม จิตพิสัย
การรับ การตอบสนอง การให้ค่านิยม การจัดรวบรวม การพัฒนาลักษณะนิสัย จากค่านิยม
นักเรียน+ ลักษณะพฤติกรรม+ เนื้อหาวิชา+ คำกริยา +เนื้อหาวิชา การเขียนจุดประสงค์การเรียนการสอนพฤติกรรมจิตพิสัย นักเรียน+ ลักษณะพฤติกรรม+ เนื้อหาวิชา+ คำกริยา +เนื้อหาวิชา ตัวอย่างที่ 1 เนื้อหา การป้องกันโรคติดต่อ ระดับพฤติกรรม การรับ ลักษณะพฤติกรรม ตั้งใจฟัง คำกริยา ถาม ประโยคจุดประสงค์การเรียนการสอน นักเรียนตั้งใจฟังครูสอนเรื่องการป้องกันโรคติดต่อตลอดจนสามารถถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ตรงประเด็น
การเขียนจุดประสงค์การเรียนการสอนพฤติกรรมจิตพิสัย นักเรียน+ ลักษณะพฤติกรรม+ เนื้อหาวิชา+ คำกริยา +เนื้อหาวิชา ตัวอย่างที่ 2 เนื้อหา การวาดภาพเหมือน ระดับพฤติกรรม การให้ค่านิยม ลักษณะพฤติกรรม ซาบซึ้งในศิลปะ คำกริยา บรรยาย ประโยคจุดประสงค์การเรียนการสอน นักเรียนมีความซาบซึ้งในศิลปะภาพเหมือนและสามารถบรรยายรายละเอียดองค์ประกอบของภาพได้เป็นอย่างดี
ทักษะพิสัย เลียนแบบ ทำตามคำสั่ง ทำเพื่อความถูกต้อง ทำอย่างสร้างสรรค์ต่อเนื่อง ทำได้เหมือนธรรมชาติ ทักษะพิสัย
การเขียนจุดประสงค์การเรียนการสอนพฤติกรรมทักษะพิสัย นักเรียนสามารถ+พฤติกรรม+เนื้อหาวิชา + พฤติกรรมที่สังเกตได้ ตัวอย่างที่ 1 เนื้อหา การตอนกิ่ง ระดับพฤติกรรม ขั้นเลียนแบบ พฤติกรรมที่สังเกตได้ ทำได้ถูกวิธี ประโยคจุดประสงค์การเรียนการสอน นักเรียนสามารถทำการตอนกิ่งกุหลาบได้ถูกวิธี
การเขียนจุดประสงค์การเรียนการสอนพฤติกรรมทักษะพิสัย นักเรียนสามารถ+พฤติกรรม+เนื้อหาวิชา + พฤติกรรมที่สังเกตได้ ตัวอย่างที่ 2 เนื้อหา การอ่านออกเสียง ระดับพฤติกรรม ขั้นทำเพื่อหาความถูกต้อง พฤติกรรมที่สังเกตได้ ฝึกอ่านได้ถูกต้อง ประโยคจุดประสงค์การเรียนการสอน นักเรียนสามารถฝึกอ่านออกเสียงได้ถูกต้อง
KAP K – KNOWLEDGE ความรู้ A - ATTRIBUTES คุณลักษณะ ATTITUDE เจตคติ P – PERFORMANCE การปฏิบัติ (S-SKILLS ทักษะ)
พฤติกรรมการเรียนรู้ พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย (Cognitive domain) K พฤติกรรมด้านจิตพิสัย (Affective domain) A พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย (Psychomotor domain) P
สรุป การเขียนจุดประสงค์ สรุป การเขียนจุดประสงค์ พุทธิพิสัย นักเรียนสามารถ + คำกริยา + ส่วนขยายพฤติกรรมตามเนื้อหาวิชา นักเรียนสามารถเลือกรับประทานอาหารประเภทโปรตีนได้ จิตพิสัย นักเรียน+ ลักษณะพฤติกรรม+ เนื้อหาวิชา+ คำกริยา +เนื้อหาวิชา นักเรียนมีความซาบซึ้งในศิลปะภาพเหมือนและสามารถบรรยายรายละเอียดองค์ประกอบของภาพได้เป็นอย่างดี ทักษะพิสัย นักเรียนสามารถ+พฤติกรรม+เนื้อหาวิชา + พฤติกรรมที่สังเกตได้ นักเรียนสามารถฝึกอ่านออกเสียงได้ถูกต้อง
กิจกรรม แบ่งกลุ่มพิจารณาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ได้นำจุดประสงค์มาเขียนลงในแบบฟอร์ม “ตารางวิเคราะห์จุดประสงค์” พร้อมทั้งระบุพฤติกรรมทางการศึกษาที่ต้องการวัดและเครื่องมือที่เหมาะสม พิมพ์ลงในฟอร์มและส่งทาง email + CC ไปยังเพื่อนในกลุ่ม ภายในวันอาทิตย์ที่ 26 มิถุนายน 2554 โปรดระบุ Section และ กลุ่ม ให้ชัดเจน เมื่อส่งงานทาง email