ระบบ e-learning สำหรับผู้พิการทางสายตา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Interactive E-learning
Advertisements

การอบรมการใช้ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
ระบบเตือนการนัดหมาย ทางการแพทย์
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. ดร. กานดา สายแก้ว
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
การพัฒนาระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ สำหรับมหาวิทยาลัยขอนแก่น
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
คลิกเลือกหัวข้อตามที่ต้องการได้เลยค่ะ
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
มองไม่เห็นก็เรียนได้
Work From Anywhere To University
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Overview - Wikipedia Wikipedia คืออะไร? การใช้งาน Wikipedia
การนำเสนอรายงานความก้าวหน้าการปฏิบัติสหกิจศึกษา นำเสนอโดย นางสาวจิตร์ลัดดา พุ่มคำ นางสาวสุนิสา สรรพศรี กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
Seminar in computer Science
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
การวางแผนและการดำเนินงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
โครงการอ่านและบันทึกหนังสือเสียง ให้แก่ผู้พิการทางสายตา
The automated web application testing (AWAT) system
Creating Effective Web Pages
แบบทดสอบก่อนเรียน วิชา โครงงานคอมพิวเตอร์
Management Information Systems
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
ป.บัณฑิต การบริหารการศึกษา รุ่นที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
รายวิชา GEL1101 การใช้ภาษาไทย ช่วงที่ 1 นำเสนอโครงงาน
โปรแกรมคำนวณค่าไซน์ (Sine)
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
นางสาวธันยกานต์ สินปรุ
การเขียนรายงาน.
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
ขั้นตอนการจัดทำโครงงาน
โครงการ นิสิตอาสาให้ความรู้การเลือกตั้ง กกต.
ชื่อหัวข้อโครงงาน (ภาษาไทย) Project Title (English)
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม 1.ด.ช.ณัฐภูมิ คงกระพันธ์ ชั้น ป.4 เลขที่ 3
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การเขียนเว็บเพ็จด้วยโปรแกรม
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การฝึกงาน รายวิชาในกลุ่มวิชาเอกบังคับของหลักสูตรระดับปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา การฝึกปฏิบัติงานจริง จะทำให้นิสิตได้มีโอกาสเรียนรู้ประสบการณ์
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ทฤษฎีการเรียนรู้ กับการพัฒนานวัตกรรม
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
โดย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย.
การนิยามศัพท์ การทำวิจัยจะต้องมีการนิยามศัพท์ เพราะคำศัพท์มีหลายความหมาย ผู้วิจัยจำเป็นต้องนิยามคำศัพท์ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเข้าใจความหมายที่ใช้ในงานวิจัยเรื่องนี้
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
SEMINAR PROJECT. วัตถุประสงค์  เพื่อให้นิสิตได้ศึกษาหัวข้อต่างๆ ที่น่าสนใจใน สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์  Seminar - ปี 3 เทอม 2  ค้นคว้าหาข้อมูลสำหรับใช้ในการทำ.
การเรียนรู้ร่วมกันผ่านทางสื่ออิเล็คทรอนิกส์ Electronic Community Learning COE นายกิตติกัญจน์ เมฆประสาน นายจักรพงศ์ เปลี่ยนคำ
นายรัชภูมิ เกื้อภักดิ์ รหัสนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา ดร. อนันท์ ชกสุริวงศ์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบ e-learning สำหรับผู้พิการทางสายตา

ข้อมูลผู้จัดทำ หัวข้อโครงงาน ระบบ e-learning สำหรับผู้ พิการทางสายตา นิสิต นาย วงศ์บวร ปิยวีรวงศ์ รหัสประจำตัว 54160382 อาจารย์ที่ปรึกษา นายประจักษ์ จิตเงินมะดัน กรรมการพิจารณาโครงงาน นายประจักษ์ จิต เงินมะดัน ระดับการศึกษา วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาควิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะ วิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัย บูรพา ปีการศึกษา 2556

สารบัญ 1.ที่มาของปัญหา 2.วัตถุประสงค์ของโครงงาน 3.แนวทางพัฒนาโครงการ 4.ขอบเขตของโครงงาน 5. ประโยชน์ที่คาดว่าได้รับ 6. ทรัพยากรที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน 7. เวลาที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน 8. อ้างอิง

ที่มาของปัญหา บุคคลที่มีปัญหาทางสายตามักเกิดปัญหาในการศึกษา เนื่องจากปัจจุบัน เทคโนโลยียังไม่สามารถเข้าถึงผู้พิการทางสายตาได้ จึงจำเป็นต้องมีการ พัฒนาระบบ e-learning เพื่อผู้พิการทางสายตา เพื่อให้ผู้พิการ ทางสายตาสามารถมีการศึกษาเหมือนบุคคลทั่วไป และเพื่อเพิ่มพูนความรู้ ให้แก่บุคคลเหล่านี้

วัตถุประสงค์ของโครงงาน เพื่อที่ผู้พิการทางสายตาสามารถศึกษา การเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ๆ เสมือนบุคคล ทั่วไป เพื่อเป็นโครงงานต้นแบบสำหรับโครงงานอื่นๆ ที่ต้องใช้ทฤษฎีการใช้งาน voice xml และการออกแบบ interface แบบใช้ voice ทางการออกแบบ หน้าจอให้สวยงาม เพื่อเป็นต้นแบบ สำหรับโครงการที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้พิการทางสายตาโครงการ อื่นๆ

แนวทางพัฒนาโครงการ ระบบ e-learning เพื่อผู้พิการ จะพัฒนา ภายใต้การใช้งาน2ทฤษฎี คือ การออกแบบใช้ voice เป็น interface แทนการ ออกแบบหน้าจอ เนื่องจากผู้พิการทางสายตาไม่ สามารถมองเห็นภาพบนมอนิเตอร์ได้ จึงจำเป็นต้อง ใช้เสียง เป็นตัวกลางสารสื่อกับผู้ใช้งานแทน การใช้ voice xml เพื่อเป็นตัวติดต่อสื่อสารระหว่าง ผู้ใช้งาน และระบบ เนื่องจาก ผู้ พิการทางสายตาไม่สามารถมองมอนิเตอร์ และทำ การคลิกเมาส์เข้าหัวข้อตามที่ตนเองต้องการได้ จึง ต้องใช้ voice xml มาเป็นตัวรับเสียงผู้ใช้งาน เพื่อให้ทราบถึงว่าผู้ใช้งานต้องการเข้าไปใช้งานยัง ส่วนที่ต้องการได้ ตัวอย่างการใช้ voice เพื่อ ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ใช้งาน เช่น siri และ google now เป็นต้น โดยทั้ง 2 ระบบนี้เป็นการ รับเสียงจากผู้ใช้งาน และจะทำตามเสียง เช่น google now

แนวทางพัฒนาโครงการ(ต่อ) wake me up at 6 p.m. เป็นการตั้งนาฬิกาปลุก what time is it in London เป็นการถามเวลาเมือง London ณ ขณะนั้น 100 dollars in thai baht เป็นการแปลงหน่วยเงิน สามารถเป็นเป็นสกุลเงินใดก็ได้ เป็นต้น

ขอบเขตของโครงงาน ขอบเขตการพัฒนาระบบ e-learning เพื่อผู้ พิการทางสายตา แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ การออกแบบ interface โดยใช้ voice จะเป็น การบันทึกเสียงตามคำสั่งต่างๆ โดยกำหนด ใช้ได้ ทั้งภาษาอังกฤษ และภาษาไทย การใช้ voice xml เป็นการที่ผู้ใช้งานพูดคำสั่ง หรือความต้องการของตัวผู้ใช้งาน แล้วระบบสา มารทำให้ความต้องการของผู้ใช้งานเป็นจริงได้ เพื่อความสะดวกสบาย และเป็นสิ่งที่ผู้ใช้งาน ต้องการสูงสุดในการใช้ระบบ e-learning เพื่อผู้ พิการทางสายตา

ประโยชน์ที่คาดว่าได้รับ เพื่อการเข้าถึงเทคโนโยลีใหม่ๆสำหรับผู้พิการ ทางสายตา เพื่อให้ผู้พิการทางสายตา ได้มีโอกาสทาง การศึกษาเหมือนบุคคลทั่วไป เป็นต้นแบบของการพัฒนาการออกแบบ interface กับผู้พิการทางสายตา เป็นต้นแบบการใช้งานแก่บุคคลที่สนใจ พัฒนาเรื่อง voice และ voice xml

ทรัพยากรที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน ด้านฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์ ไมโคโฟน ลำโพง ด้านซอฟต์แวร์ โปรแกรมที่ใช้เขียน java โปรแกรม Vocie xml

เวลาที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน ขั้นตอนดำเนินงาน เดือน พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. 1.การออกแบบระบบ 2.การเขียนโปรแกรม 3.การลงเสียงโดยใช้ voice 4.ทดลองใช้งาน 5.เขียนรายงาน พร้อมนำเสนอ

อ้างอิง http://th.wikipedia.org/wiki/VoiceXML ค้นหาเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2556 แหล่งที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/VoiceXML ค้นหาเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2556 แหล่งที่มา http://ieeexplore.ieee.org/xpl/login.jsp?tp=&arnumber=4062228 &url=http%3A%2F%2Fieeexplore.ieee.org%2Fxpls%2Fabs_all .jsp%3Farnumber%3D4062228

ขอบคุณครับ