ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
การประยุกต์เกี่ยวกับร้อยละ
คณิตศาสตร์ที่ใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
การบวก จำนวนเต็มบวก กับ จำนวนเต็มบวก
ชนิด ความเข้มข้นและการเตรียม
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่องความเข้มข้นของสารละลาย
การเลือกคุณภาพสินค้า
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ฝึกคำนวณค่าโทรศัพท์มือถือ
ลำดับเรขาคณิต Geometric Sequence.
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร.
เรื่อง การคูณ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดย ครูเพ็ญพิมล สิทธิวรเกียรติ
บทบาทของสภาวิศวกรในการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรม
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี
Laboratory in Physical Chemistry II
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
ปฏิกิริยา เอสเทอริฟิเคชัน (esterification)
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
การทดลองที่ 5 Colligative property
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
Basic Graphics by uddee
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
มาสเตอร์วุฒินันท์ สิงห์เผ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
โดย...นางสาวทิพวรรณ สืบสมบัติ
แบบฝึกหัดการเตรียมสารละลาย
โครงสร้างต้นทุนการผลิตและราคาขาย ณ โรงงานสุรา (สุรากลั่นชุมชน)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
ดังนั้นในสารละลายมี H3O+ = 5x10-5 mol
การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่
ชุดวิชา : การประเมินแรงม้าเครื่องจักร
การยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามระเบียบพัสดุ
การควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย
คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4209 (พ. ศ
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
การแจกแจงปกติ.
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
แผ่นซิงค์75 x240ซม. หนา1.5มิล ตัวอย่างขนาดป้าย 75 CM 6 นิ้ว 240 CM
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ปริมาตรพีระมิด ปริมาตรพีระมิด = 1/3 เท่าของปริมาตรปริซีม
การจำแนกประเภทของสาร
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ 1. โครงการควบคุมป้องกันภาวะขาดสาร ไอโอดีนด้วย 1. โครงการควบคุมป้องกันภาวะขาดสาร ไอโอดีนด้วย Iodize oil capsul ประเด็นนำเสนอ.
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การประมาณค่า ครูสุชาฎา รถทอง โรงเรียนปทุมวิไล
เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูก 8 ข้อขึ้นไป 5 คะแนน ตอบถูก 7 ข้อ 4 คะแนน ตอบถูก 6 ข้อ 3 คะแนน ตอบถูก 5 ข้อ 2 คะแนน ตอบถูกน้อยกว่า 4 ข้อ 1 คะแนน ตอบไม่ถูกเลยไม่ได้รับคะแนน.
การแก้โจทย์ปัญหาเซตจำกัด 2 เซต
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
วาระที่ 3.3 รายงานภาวการณ์ลงทุนในช่วง 4 เดือนแรก ปี 2556.
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101) กราฟและ การนำไปใช้
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมตั้งแต่เดือน ม. ค. - ก. พ. 56 ลดลง 7 %
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย 1. เมื่อละลายน้ำตาลกลูโคส 25 กรัม ในน้ำกลั่น 125 กรัม อยาก ทราบว่า สารละลายกลูโคสมีความเข้มข้นร้อยละเท่าใดโดยมวล วิธีทำ มวลสารละลาย = มวลตัวทำละลาย + มวลตัวถูกละลาย = 125 + 25 กรัม = 150 กรัม สารละลาย 150 กรัม มีกลูโคส = 25 กรัม สารละลาย 100 กรัม มีกลูโคส = x 100 กรัม สารละลาย มีความเข้มข้นร้อยละ = 8.3 กรัมโดยมวล

ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย 2. เมื่อนำสารละลายเกลือแกง 400 กรัม มีความเข้มข้นร้อยละ 20 โดยมวล มีเกลือแกงกี่กรัม วิธีทำ สารละลาย 100 กรัม มีเกลือแกง = 20 กรัม สารละลาย 400 กรัม มีเกลือแกง = x 400 กรัม สารละลาย มีเกลือแกง = 80 กรัม

ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย 3 3 3. สารละลายเอทานอล มีเอทานอล 25 cm และ น้ำกลั่น 50 cm อยากทราบว่า สารละลายเอทานอล มีความเข้มข้นร้อยละเท่าใดโดยปริมาตร วิธีทำ ปริมาตรสารละลาย = ปริมาตรตัวทำละลาย + ปริมาตรตัวถูกละลาย 3 = 50 + 25 cm 3 = 75 cm สารละลาย 75 cm มีเอทานอล = 25 cm 3 3 สารละลาย 100 cm มีเอทานอล = x 100 cm 3 3 สารละลาย มีความเข้มข้นร้อยละ = 33. 3 โดยปริมาตร

ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย การคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย 4. สารละลายกรดซัลฟิวริก มีความเข้มข้น ร้อยละ 12 โดยปริมาตร นำสารละลายมา 240 cm มีกรดซัลฟิวริกเท่าใด 3 วิธีทำ สารละลาย 100 cm มีกรดซัลฟิวริก = 12 cm 3 3 สารละลาย 240 cm มีกรดซัลฟิวริก = x 240 cm 3 3 สารละลาย มีกรดซัลฟิวริก = 28.8 cm 3

ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย 3 5. สารละลายสารส้ม 150 cm มีสารส้มอยู่ 10 g อยาก ทราบว่าสารละลายสารส้ม มีความเข้มข้นร้อยละเท่าใด โดยมวล / ปริมาตร วิธีทำ สารละลาย 150 cm มีสารส้ม = 10 g 3 สารละลาย 100 cm มีสารส้ม = x 100 g 3 สารละลาย มีความเข้มข้นร้อยละ = 6.6 โดยมวล / ปริมาตร

ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย 6. สารละลายจุนสีมีความเข้มข้นร้อยละ 15 โดยมวล / ปริมาตร นำสารละลายมา 300 cm อยากทราบว่ามีจุนสีเท่าใด 3 วิธีทำ สารละลาย 100 cm มีจุนสี = 15 g 3 สารละลาย 300 cm มีจุนสี = x 300 g 3 สารละลาย มีจุนสี = 45 g

ทดสอบความเข้าใจ ลองคำนวณดูนะคะ ทดสอบความเข้าใจ ลองคำนวณดูนะคะ 1. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายน้ำตาลเข้มข้น 5 % โดยมวล/ปริมาตร จำนวน 75 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะต้องใช้น้ำตาลทรายกี่กรัม คำตอบ คือ .............. กรัม 3.75 2. สารละลายสารส้มเข้มข้น 20 % โดยมวล/ปริมาตร นำสารละลาย จำนวน 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะมีสารส้มกี่กรัม คำตอบ คือ .............. กรัม 50

ทดสอบความเข้าใจ ลองคำนวณดูนะคะ ทดสอบความเข้าใจ ลองคำนวณดูนะคะ 3. สารละลายกรดแอซิติก 450 cm มีกรดแอซิติก 30 cm สารละลายมีความเข้มข้นเท่าใดโดยปริมาตร คำตอบ คือ .............. % 3 3 6.67 4. สารละลายแอลกอฮอล์เข้มข้น 15 % โดยปริมาตร นำสารละลาย จำนวน 300 cm จะมีน้ำกลั่นกี่ cm คำตอบ คือ .............. cm 3 3 255 3

ทดสอบความเข้าใจ ลองคำนวณดูนะคะ ทดสอบความเข้าใจ ลองคำนวณดูนะคะ 5. สารละลาย C ประกอบด้วย สาร A 40 กรัม สาร B 80 กรัม สารละลายมีความเข้มข้นเท่าใดโดยมวล คำตอบ คือ .............. % 33.3 6. สารละลายกรดซัลฟิวริกมีน้ำกลั่น 75 ลูกบาศก์เซนติเมตร กรดซัลฟิวริก 5 ลูกบาศก์เซนติเมตร สารละลายจะมีความเข้มข้น เท่าใดโดยปริมาตร คำตอบ คือ .............. % 6.25 ถ้าเข้าใจดีแล้ว ขอให้ตั้งใจทำแบบทดสอบหลังเรียน ให้ได้มาก ๆ นะคะ