From melioidosis research group to Melioidosis Research center: 6 years of experience S. Wongratanacheewin, Ph.D Director, Melioidosis Research center,

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
Advertisements

สมาชิกกลุ่ม 1. คุณกรองแก้ว ศุภวัฒน์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2. คุณศิริมา ปัทมดิลก กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 3. นายแพทย์รุ่งเรือง กิจผาติ
R2R and B2B: a Successful Experience
พบประธานกรรมการประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
ผู้เข้าร่วมการอบรม Orientation หลักสูตร “กัมพูชาศึกษา”
October Research Group: From Research Group to be an Excellence Center รองศาสตราจารย์ ดร. สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน Melioidosis Research Excellence.
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
เล่าเรื่อง:โครงการเก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
Graduate School Khon Kaen University
การจัดทำรายงานประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
โครงการนำร่อง EdPex คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
กิจกรรมและบริการด้านการจัดการทรัพย์สินทางปัญญา
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
สรุปประเด็นการบรรยายของวิทยากร
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
การรับเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
STAFFS อาจารย์ แพทย์ใช้ทุน เจ้าหน้าที่ Ph.D. (9) M.Sc. (3)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
“การบริหารจัดการงานวิจัยและผลงานวิจัย”
S and T Publications Narongrit Sombatsompop
ศูนย์ปฏิบัติการร่วมกลุ่มจังหวัด Regional Operation Center : ROC
ยินดีต้อนรับคณะเยี่ยมชื่นชม
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
รายงานประจำปี 2553 ANNUAL REPORT โครงสร้างการ บริหารงาน คณะกรรมการบริหาร สถาบันวิจัย คณะกรรมการเพื่อ ความปลอดภัยทาง ชีวภาพ คณะกรรมการ จริยธรรมการวิจัยใน.
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 4 th กลยุทธ์การส่งเสริมและพัฒนา เสริมสร้างศักยภาพอุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ.
การบริหารกิจกรรม วิจัยสถาบัน  คณะกรรมการวิจัย สถาบัน  อธิการบดี  ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก  ผู้บริหารระดับสูงของ มหาวิทยาลัย.
การสนับสนุน ทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การสัมมนาโครงการสร้างอนาคต แพทย์ทหารเรือ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๑ ขั้นตอนที่ ๑ Stake Holder Analysis : การวิเคราะห์ความต้องการของ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทั้งหมด ขั้นตอนที่
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
ความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร ในการทำวิจัยR to R
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ศูนย์นวัตกรรมการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ระบบส่งเสริมการเกษตร
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
พ.ร.บ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.๒๕๔๘
งานวิจัยและวิเทศสัมพันธ์
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
งานวิเทศสัมพันธ์ ผศ.ดร.นิศากร ประคองชาติ
ข้อเสนอเชิงนโยบาย  การเตรียมเอกสารวิชาการรับใช้สังคม นักวิชาการยังต้องการ “พี่เลี้ยง” ที่จะช่วยเติม มุมมองด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยควรร่วมมือกับ กลไกสนับสนุนที่มีอยู่
หลัก สูตร คณะ สถาบั น 2 บัณฑิต 3 นักศึกษา 4 อาจารย์องค์ประกอบ 5 หลักสูตร การเรียน การสอน การประเมินผู้เรียน 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1 การผลิตบัณฑิต 2.
Teaching & Learning Technology Development Center Technology Innovation for Education UNIVERSITY OF WISCONSIN – EAU CLAIRE By Srithon Meetam
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
A Case Study MU for ASEAN Prof. dr. Supa Pengpid Director: AIHD.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The 5 th International Conference on National Product for Health and Beauty (NATPRO5) พฤษภาคม 2557 จัดโดย สถานวิจัยความเป็นเลิศด้าน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

From melioidosis research group to Melioidosis Research center: 6 years of experience S. Wongratanacheewin, Ph.D Director, Melioidosis Research center, KKU E-mail: melioid@kku.ac.th http://web.kku.ac.th/~melioid

ความเป็นมา เป็นการรวมตัวของนักวิจัยที่สนใจโรค melioidosis โดยในระยะแรกมีผู้เริ่มต้น 7-8 ท่าน จัดตั้งกลุ่มตั้งแต่ปี 2543 โดยเริ่มมีการเขียนโครงการวิจัยร่วมกัน ได้รับการสนับสนุนการดำเนินการจากคณะแพทยศาสตร์ เริ่มตั้งแต่ปี 2543 ได้เชิญชวนผู้สนใจเข้าร่วมกลุ่มมากขึ้น

update state of the art ของปัญหา ของโรคเมลิออยโดสิสในแง่มุมต่างๆ เพื่อระดมนักวิจัยเกี่ยวกับโรคเมลิออยโดสิสใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น มาศึกษาวิจัยร่วมกัน ให้มีการปฏิสัมพันธ์ในแง่ของการนำความรู้ที่ ได้จากการวิจัยในแง่ต่างๆ มาแลกเปลี่ยนกัน เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของการวิจัยในแง่มุม ต่างๆ ยังผลให้มาได้ซี่ง Proposal ร่วมกัน

จัดการประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและแลกเปลี่ยน ความรู้ระหว่างสมาชิกและผู้สนใจหรือจัดการประชุมสัมมนาเพื่อเป็นการ ระดมความคิดเกี่ยวกับปัญหาที่ศึกษาเดือนละไม่ต่ำกว่า 1 ครั้ง จัดประชุมปรึกษากับผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เพื่อวิจารณ์ผลการระดมสมองการวิจัยของ กลุ่มทุก 6 เดือน ส่งตัวแทนกลุ่มเข้าร่วมประชุมกับกลุ่ม melioidosis ในสถาบันอื่น

Outcome of 3 years International Publications of Melioidosis research Group, KKU (1999-2002:3 years) :12 papers. Presentation: 5 papers in 2 international conferences, 4 locals presentation, 3 as a guest speakers. Research Grants: 15 projects, total budget 6.5 million baht. 2 projects were collaborated with Mahidol, AFFRIM and USA. Research meeting with outside researchers: 6 ครั้ง Research group meeting: ประมาณเดือนละ 1 ครั้ง Our members: 18-20 persons, New coming:1-2 persons/year

ปัญหาอุปสรรค กิจกรรมของคณะ มากเกินไป ไม่มี ทิศทางที่แน่นนอน ทำให้ staff เสียเวลามาก ขาดความสนใจและทุ่มเทในการวิจัย การประเมินผลงานวิจัยไม่เข้มแข็ง ทำให้ขาดแรงผลักดันในการสร้างความเข้มแข็งของหน่วยงานและบุคลากร ผู้ที่ทำงานวิจัยมากคือผู้ที่มีความสนใจ และตั้งใจอยู่แล้ว คณะมีการให้การสนับสนุนสูง แต่ไม่มีการติดตามและประเมินอย่างจริงจัง

Melioidosis Research Center (2548) Faculty of Medicine, Khon Kaen University E-mail: melioid@kku.ac.th http://web.kku.ac.th/~melioid

วิสัยทัศน์ ศูนย์วิจัยโรคเมลิออยโดสิส เป็นศูนย์แห่งการวิจัยและการเรียนรู้โรคเมลิออยโดสิสและโรคติดเชื้อสำคัญทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ฐานข้อมูลการเรียนรู้ ผลิตผลงานวิจัย การเผยแพร่อย่างเป็นระบบครบวงจร สร้างความเข้มแข็งในการแข่งขัน ด้านองค์ความรู้

แผนกลยุทธ์ ประสานและสนับสนุนงานของหน่วยวิจัย เชื่อมโยงด้วยกลไกต่างๆ เพื่อกำหนดทิศทาง เป้าหมาย และแผนกลยุทธ์ด้านการวิจัย การพัฒนาบัณฑิตศึกษา การรวบรวมข้อมูลการวิจัยตลอดจนการเผยแพร่และการถ่ายทอดความรู้ร่วมกัน จัดทำแผนการดำเนินงาน ระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว สนับสนุนหน่วยวิจัยต่าง ๆ ให้มีอิสระในการวิจัยตามศักยภาพและทรัพยากรที่มีหรือที่จัดหามาได้ ตามแผนที่กำหนด

โครงสร้างการบริหารศูนย์วิจัยโรคเมลิออยโดสิส

คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น กรรมการอำนวยการ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประธานกรรมการ   ศ.นพ.ปิยทัศน์ ทัศนาวิวัฒน์กรรมการ (ผู้ทรงคุณวุฒิ) ศ.นพ.ภิเศก ลุมภิกานนท์ กรรมการ (ผู้ทรงคุณวุฒิ) รศ.นพ.ประสิทธ์ ผลิตผลการพิมพ์ (รองผู้อำนวยการศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ) กรรมการ (ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก) นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ (เลขานุการมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ) กรรมการ (ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก)

กรรมการบริหารและเจ้าหน้าที่ ศ.(พิเศษ) พญ.วิภาดา เชาวกุล ที่ปรึกษา ศ.เกียรติคุณ ดร.สถิตย์ สิริสิงห ที่ปรึกษา นพ.เกรียงศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์ ที่ปรึกษา ทัศมาลี กุลวรา นภาพิศ สุวรรณา

โครงการ/กิจกรรม กิจกรรมด้านการวิจัย กิจกรรมด้านบัณฑิตศึกษา กิจกรรมการสร้างฐานข้อมูล และ เผยแพร่ความรู้

http://web.kku.ac.th/~melioid

Research collaboration CMU MU 4 1 2 NU Wellcome MRC 2 2 2 USA, Wisconsin. USA, U. of Northern Arizona 2 2 U. of Guelph, Canada U. of Monash, Australia

Expected in 5 years National excellent center Post-Doc training center Sustainable At least 10 international publications per year. 1 patent every 5 years Graduated students (MS., Ph.D) 5-8 persons/year

Problems Need infra structure facilities. (BSL) Extend lab space. Management problems. Full time research staff. Young active researchers.

Acknowledgements BIOTEC, NSTDA TRF (Thailand research fund) RGJ-Ph.D. program (Royal golden Jubilee-Ph.D) T2 (Thailand Tropical Diseases Research Programme) MUA (Commission of Higher Education) Ministry of Foreign affair. Faculty of Medicine KKU

The 5th World Melioidosis Congress Sofitel Raja Orchid, Khon Kaen, Thailand Epidemiology Clinical Aspects Diagnosis Antibiotic Resistance Treatment Pathogenesis Genome and genetics Environmental Aspects Immunology Proteomics 21-23 November, 2007 Main organizer, Melioidosis Research Center, KKU