ชื่อกลุ่ม เติมใจให้กัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนการคลัง สำนักบริหารแผนและการคลัง
Advertisements

ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานซ่อมบำรุง
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
บริการข้อมูลออนไลน์จากศูนย์สารสนเทศนานาชาติ
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลุ่มจามจุรี.
ของแผนกบริการตำราและห้องสมุด
แผนกบริหารสินค้า (หนังสือไทย) ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
การนำส่งภาษีผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
โครงการ ขอเอกสารสำคัญได้ภายใน 1 วัน
คำขวัญกลุ่ม “ร่วมแรงร่วมใจแก้ไขปัญหา”
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
โครงการเพิ่มความคล่องตัวในการนำเข้า และกำกับ KPI สำนักงานของผู้บริหาร
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน รุ่นที่ รุ่นที่ 11 – 14
ฝ่ายบริการจ่าย-รับ ศูนย์วิทยทรัพยากร
ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
งานสวัสดิการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรมนุษย์
กลุ่ม CU_REGISTRAR_FB
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
2.2 สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ.ศ.2554 (ประเภทโครงการใหม่ที่พัฒนาหน่วยงาน)
ปรู๊ฟทันใจ โครงการ แผนกลูกค้าสัมพันธ์
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
ถุงเงิน ถุงทอง.
“ การเพิ่มประสิทธิภาพการตั้งงบประมาณ หมวดค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ”
โครงการ รับเข้าสินค้า รวดเร็ว ทันใจ มีประสิทธิภาพ
ที่มาของโครงการ เจ้าหนี้การค้าในประเทศมากกว่า 5 พันราย ซึ่งเดิมจ่ายชำระด้วย CHQ และเปลี่ยนเป็นการจ่ายชำระหนี้เงินโอน 1,970 ราย พบปัญหา เจ้าหนี้เงินโอนสอบถามรายการจ่ายชำระหนี้
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงานประจำปี พ.ศ. 2554
ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานสวัสดิการ
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
โครงการกระบวนการจัดทำสัญญาเพื่อให้ผู้เช่าลงนาม ให้แล้วเสร็จ
โครงการ ถาม-ตอบอัจฉริยะ
หอพักนิสิต สำนักบริหารงานกิจการนิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประเภทโครงการ Cross Function/Lean เครือข่ายวิชาชีพ ทีมบริหารสินค้าต่างประเทศ ทีมบัญชีเจ้าหนี้ต่างประเทศ ทีมขายสาขา ม.นเรศวร ทีมขายสาขา มทส.
แผนกฟิล์มและแม่พิมพ์
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
ชื่อกลุ่ม กลุ่ม 10 ดวงใจแห่งความสำเร็จ
โครงการ : ลดระยะเวลาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี
โครงการเพิ่มช่องทางการเข้าถึง เครือข่าย CUNET จากเครือข่าย ภายนอกจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่ม IT919.
ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการพัฒนาคุณภาพงานด้วยแนวคิด Lean
ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
ฟิล์มคุณภาพ แพทย์อ่านถูกต้อง
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ผลงาน CQI งานกายภาพบำบัด
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อกลุ่ม เติมใจให้กัน........ ชื่อกลุ่ม เติมใจให้กัน........ หน่วยงาน...... โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สร้างงานที่มีคุณภาพตามความต้องการของแผนกที่เกี่ยวข้อง ชื่อโครงการที่พัฒนา สร้างงานที่มีคุณภาพตามความต้องการของแผนกที่เกี่ยวข้อง

หน้าที่หลักของแผนกพิมพ์ พิมพ์งานให้ผู้รับบริการได้ทั้งระบบออฟเซ็ท และระบบดิจิทัล สามารถพิมพ์งาน 4 สี และงาน 1 สีได้ ตามความต้องการของผู้รับบริการ เช่นงานหนังสือเล่ม, งานโปสเตอร์ , แผ่นพับ, ใบเสร็จที่มีตัวเลข สามารถพิมพ์งานที่ใช้หมึกจากถั่วเหลืองและกระดาษ Recycle เยื่อเวียนใหม่ที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมได้ดี

ที่มา/มูลเหตุจูงใจของโครงการ ในปัจจุบันการพิมพ์งานที่มีคุณภาพ และถูกต้องตามความต้องการของผู้รับบริการและแผนกที่เกี่ยวข้อง เป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งในการทำงาน ซึ่งปัญหาที่ผ่านมาคือ แผนกพิมพ์ พิมพ์งานไม่ได้คุณภาพตามที่ผู้รับบริการต้องการโดยเฉพาะอย่างยิ่งงานพิมพ์ปก 4 สี เช่น งานพิมพ์สีไม่สม่ำเสมอ มีภาพซ้อน มีหน้าขาว มีหมึกซับหลัง หรือจำนวนไม่ครบถ้วน แผนกพิมพ์จึงแก้ปัญหาโดยการเผื่อเสียจำนวนมาก เพื่อที่จะเผื่อคัดของดี ขั้นสุดท้ายแล้วจะได้งานพิมพ์ที่ครบจำนวน ซึ่งทำให้เกิดค่าใช้จ่ายและเสียเวลาในการทำงานของแผนกที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น เพื่อให้งานที่ออกมาจากแผนกพิมพ์มีคุณภาพและลดต้นทุนกระดาษและเวลาที่เสียไป ทางกลุ่มจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น โดยเฉพาะงานปกพิมพ์ 4 สี เพื่อพัฒนางานสร้างงานให้มีคุณภาพ เป็นที่พึงพอใจแก่ผู้รับบริการในอนาคต

เป้าหมายและตัวชี้วัด เนื่องจากลักษณะงานพิมพ์ปก 4 สี มีจำนวนหลากหลาย เริ่มตั้งแต่ 100 ปก ขึ้นไป เพราะฉะนั้นการพิมพ์งานดังกล่าวจึงมีการเผื่อเสียเปอร์เซ็นต์ต่างกันตามปริมาณงานพิมพ์ งานพิมพ์จำนวนน้อยจะมีเปอร์เซ็นต์การเผื่อเสียสูงกว่างานพิมพ์จำนวนมาก เช่น จำนวน 500 แผ่น เผื่อเสีย 200 แผ่น เท่ากับ 40 เปอร์เซ็นต์ จำนวน 3,000 แผ่น เผื่อเสีย 300 แผ่น เท่ากับ 10 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้น เพื่อให้ปริมาณงานการเผื่อเสียกระดาษในงานพิมพ์ปก 4 สีเป็นไปอย่างเหมาะสม ไม่ให้มีงานพิมพ์ที่มีคุณภาพมากเกินความจำเป็นและเพื่อลดต้นทุนกระดาษที่เผื่อเสีย จึงได้ตั้งเป้าหมายและกำหนดตัวชี้วัด ดังนี้

เป้าหมายและตัวชี้วัด เป้าหมาย คือ จะลดเปอร์เซ็นต์กระดาษที่เผื่อเสียลงไม่ให้เกิน 10 เปอร์เซ็นต์ สำหรับงานพิมพ์ปก 4 สี ตัวชี้วัด คือ เปอร์เซ็นต์จำนวนกระดาษที่เผื่อเสีย

การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (แผนภูมิก้างปลา)

สรุปผลการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา 1. บุคลากร ขาดความรับผิดชอบและทำงานจากประสบการณ์ ไม่ได้เรียนจบโดยตรง 2. เอกสารข้อมูล ใบสั่งงาน ระบุข้อมูลไม่ครบถ้วน + ไม่ถูกต้อง 3. วิธีการ/ขบวนการ การสื่อสารและการประสานงานไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 4. วัสดุ + อุปกรณ์การพิมพ์ กระดาษ หมึกพิมพ์ น้ำยา แม่พิมพ์ ไม่มีคุณภาพเท่าที่ควร

สรุปการแก้ไขปรับปรุงที่ได้ดำเนินการ 1. นัดประชุมชี้แจงช่างพิมพ์งาน 4 สี ให้ทราบถึงมาตรการปรับลดจำนวนกระดาษเผื่อเสีย 2. เพิ่มการสุ่มตรวจสอบระหว่างพิมพ์ จากทุก 20 แผ่น เป็นทุก ๆ 10 แผ่น 3. หัวหน้างานสลับกันติดตามการตรวจสอบคุณภาพการพิมพ์

ผลลัพธ์ก่อนปรับปรุง ข้อมูลย้อนหลัง 3 เดือน (เมษายน – มิถุนายน 2554) สูตรในการคำนวณ = จำนวนเผื่อเสีย จำนวนกระดาษที่ลงแท่นพิมพ์ = 35,450 174,026 = 20.37% X 100 X 100

ผลลัพธ์หลังปรับปรุง ข้อมูลหลังการปรับปรุง 3 เดือน (กรกฎาคม – กันยายน 2554) สูตรในการคำนวณ = จำนวนเผื่อเสีย จำนวนกระดาษที่ลงแท่นพิมพ์ = 26,360 156,656 = 16.83% X 100 X 100

ผลลัพธ์การดำเนินการ จำนวนกระดาษ เดือน

ผลลัพธ์การดำเนินการ เดือน ปริมาณงานที่สั่งพิมพ์ 51,400 109,003 127,220 177,770 166,410 35,490 จำนวนงานทั้งหมด 36 33 54 35 44

ผลสรุป สามารถลดจำนวนเผื่อเสียได้น้อยลง คือ จากเดิม 20.37% เหลือ 16.83% เท่ากับ ลดลง 3.54% เนื่องจากมีงานที่พิมพ์ในปริมาณน้อยค่อนข้างมาก โดยเฉพาะในเดือนกันยายน 2554 จึงมีผลทำให้ไม่สามารถบรรลุตามเป้าหมาย คือ 10% ได้

Q & A