การเทียบตำแหน่ง
วัตถุประสงค์ วางหลักเกณฑ์การเทียบตำแหน่งผู้บังคับบัญชาระหว่างข้าราชการทหารด้วยกัน ระหว่างข้าราชการทหารกับข้าราชการพลเรือน
วัตถุประสงค์ เพื่อให้มีอำนาจหน้าที่ในการดำเนินการต่าง ๆ ตามกฎหมายและระเบียบของทางราชการ เพื่อประโยชน์การร่วมมือ ติดต่อประสาน กับฝ่ายต่าง ๆ ได้ดี
การเทียบตำแหน่งเพื่อการบังคับบัญชา ยศ - อัตราเงินเดือน ตำแหน่ง จ.ต. - พ.อ.อ. ผบ.หมู่, นายตอน ร.ต. - ร.ท. ผบ.หมวด, ต้นเรือชั้น ๓, ผบ.หมวดบินชั้น ๓ ร.อ. ผบ.ร้อย, ผบ.เรือชั้น ๓, ผบ.หมวดบินชั้น ๒ น.ต. ผบ.พัน, ผบ.เรือชั้น ๒, ผบ.หมวดบินชั้น ๑ น.ท. ผบ.พัน, ผบ.เรือชั้น ๑, ผบ.ฝูงบิน น.อ.- น.อ.พิเศษ ผบ.กรม, ผบ.หมวดเรือ, ผบ.กองบิน พล.อ.ต. ผบ.พล, ผบ.กองเรือ, ผบ.กองพลบิน พล.อ.ท. แม่ทัพ
ยศ - อัตราเงินเดือน ผู้ดำรงตำแหน่งระดับ จ.ต. - พ.อ.อ. (รวมพลอาสาสมัคร) ๑ ร.ต. ชั้น ๑ - ๒ ๒ ร.ต. ชั้น ๓ - ร.ท. ๓ ร.อ. ๔ น.ต. ๕ น.ท. ๖ น.อ. ๗ น.อ.พิเศษ อันดับ ๑ ๘ น.อ.พิเศษ อันดับ ๒ ๙ พล.อ.ต. - พล.อ.ท. ๑๐ พล.อ.ท. อันดับ ๒ ขึ้นไป ๑๑
ข้อบังคับกระทรวงกลาโหม ว่าด้วยการเทียบตำแหน่งราชการฝ่ายพลเรือน บางตำแหน่งกับตำแหน่งทหาร พ.ศ.๒๕๑๗ ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เทียบเท่า ผู้บัญชาการกองพล นายอำเภอ หรือหัวหน้าเขต (ชั้นเอก) เทียบเท่าผู้บังคับการกรม นายอำเภอ หรือหัวหน้าเขต (ชั้นโท) เทียบเท่าผู้บังคับกองพัน