FPL: Family Practice Learning การฝึกปฏิบัติ โดยใช้ รพช. เป็นฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้ป่วยแน่น OPD. ผู้ป่วยแน่น OPD ผู้ป่วยแน่น IPD.
Advertisements

รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
รูปแบบการดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูหลังน้ำท่วม
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
Point of care management Blood glucose meter
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
End of life care ช่วงสุดท้ายของชีวิต
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

DHS,FCT 3P + ข้อเสนอ.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

FPL: Family Practice Learning การฝึกปฏิบัติ โดยใช้ รพช. เป็นฐาน Context Based Learning: CBL Competencies outcomes Individual-Team-System Identified learning activities Identified learning activities Curriculum Theories & Practices FPL: Family Practice Learning การฝึกปฏิบัติ โดยใช้ รพช. เป็นฐาน บทเรียนจากประสบการณ์... นพ. ยงยุทธ พงษ์สุภาพ 3 ธันวาคม 2555

5 Weekends (Regular exchanges) & Reading materials Practices: เลือกหน่วยการเรียน (Learning Units) เพื่อใช้ทฤษฎี support การปฏิบัติ : 70-80% ผสมผสาน (เจาะลึกบาง) งาน Routine 20-30% Extra-workloads Preceptors: FLU Family เป็น Learning Unit: อย่างน้อย 5 ครอบครัว: สมาชิก ~ 20 -30 คน Community เป็น Learning Unit: อย่างน้อย 1 ตำบล (ชุมชน) และ 1 สถานบริการในชุมชน ~ 5000 คน DHS เป็น Learning Unit: ปฏิบัติงาน ในฐานะทีมแพทย์และทีมงานของ รพช. (เป็นส่วนหนึ่งของการฝึกปฏิบัติ) และทีมงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS: District Health System) Theories: FM Principles & Human aspiration 5 Weekends (Regular exchanges) & Reading materials CLU DHS Inspiration & Support DLU

Practices: เลือกหน่วยการเรียน (Learning Units) เพื่อใช้ทฤษฎี support การปฏิบัติ : 70-80% ผสมผสาน (เจาะลึกบาง) งาน Routine 20-30% Extra-workloads การฝึกปฏิบัติที่ รพช.: 70-80% ของเวลาที่ใช้ในการทำงาน/ฝึกปฏิบัติอยู่ที่ รพช. OPD แต่ละวัน: ครอบครัวที่เลือก (0-2 คน: FLU 2) ชุมชนที่เลือก (10-20 คน: CLU 2) และ OPD ทั่วไป (50-80 คน: DLU 2) Extra-workloads: VDO recording + การประเมิน Consultation process Ward, ER, OR: ครอบครัว/ชุมชนที่เลือก (DLU 1) และผู้รับบริการทั่วไป (DLU 2) สื่อสารกับ จนท. รพ.สต. (สอ.) สร้างความสัมพันธ์ (โน้มน้าว) ให้ร่วมติดตาม-เรียนรู้ ผู้ป่วยที่เป็นสมาชิกของชุมชนที่เลือก ใน Ward (CLU 4) การให้คำปรึกษาทางไกล (CLU 5) : สถานบริการปฐมภูมิที่อยู่ในความรับผิดชอบ FLU CLU DLU

Practices: เลือกหน่วยการเรียน (Learning Units) เพื่อใช้ทฤษฎี support การปฏิบัติ : 70-80% ผสมผสาน (เจาะลึกบาง) งาน Routine 20-30% Extra-workloads การฝึกปฏิบัติที่ สถานบริการปฐมภูมิในชุมชน: สัปดาห์ละครั้ง - เดือนละครั้ง การให้บริการในห้องตรวจ (CLU 1) VDO recording ในสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศของ HC + การประเมิน Consultation process การนิเทศเพื่อเพิ่มสมรรถนะ (CLU 3) การสังเกตเงียบ (Silent observation) การอภิปรายและแลกเปลี่ยนหลังการสังเกต FLU CLU DLU

การให้บริการที่บ้าน Practices: FLU เลือกหน่วยการเรียน (Learning Units) เพื่อใช้ทฤษฎี support การปฏิบัติ : 70-80% ผสมผสาน (เจาะลึกบาง) งาน Routine 20-30% Extra-workloads การให้บริการที่บ้าน ครอบครัวที่อยู่ในความรับผิดชอบ (FLU 3): มีข้อบ่งชี้ (Indications) เพื่อให้เห็นถึงความจำเป็นของการให้บริการที่บ้าน ชุมชนที่อยู่ในความรับผิดชอบ (CLU 2) ร่วมให้บริการที่บ้านกับทีมผู้ให้บริการปฐมภูมิที่อยู่ในชุมชน เป็นส่วนหนึ่งของทีมผู้ให้บริการที่บ้านของโรงพยาบาล: งาน Routine ของโรงพยาบาล (DLU 2) FLU CLU DLU

การเยี่ยมบ้าน Practices: FLU ครอบครัวที่เลือก CLU DLU เลือกหน่วยการเรียน (Learning Units) เพื่อใช้ทฤษฎี support การปฏิบัติ : 70-80% ผสมผสาน (เจาะลึกบาง) งาน Routine 20-30% Extra-workloads การเยี่ยมบ้าน ครอบครัวที่เลือก ทำความรู้จัก/ทำความเข้าใจ: ครั้งแรก (FLU 1) ติดตาม/เรียนรู้ (กรณีไม่มีกิจกรรมการให้บริการที่บ้านเกินกว่า 3 เดือน): life-cycle, dynamicity, etc. (FLU 4) FLU CLU DLU

การตามเยี่ยม ผป. ในระดับ 2o และ 3o care (FLU 5) Practices: เลือกหน่วยการเรียน (Learning Units) เพื่อใช้ทฤษฎี support การปฏิบัติ : 70-80% ผสมผสาน (เจาะลึกบาง) งาน Routine 20-30% Extra-workloads การตามเยี่ยม ผป. ในระดับ 2o และ 3o care (FLU 5) ครอบครัวที่อยู่ในความรับผิดชอบและได้รับการส่งต่อไปยัง 2o และ 3o care การร่วมประชุมชาวบ้าน (CLU 6) การแนะนำตัวและทำความรู้จักและทำความเข้าใจกับกลุ่มผู้นำชุมชน ร่วมประชุมชนที่อยู่ในความรับผิดชอบ: ทุกครั้งที่มีโอกาสร่วมกับผู้ให้บริการปฐมภูมิที่อยู่ในชุมชน FLU CLU DLU

Practices: FLU CLU DLU การวินิจฉัยชุมชนที่อยู่ในความรับผิดชอบ เลือกหน่วยการเรียน (Learning Units) เพื่อใช้ทฤษฎี support การปฏิบัติ : 70-80% ผสมผสาน (เจาะลึกบาง) งาน Routine 20-30% Extra-workloads การวินิจฉัยชุมชนที่อยู่ในความรับผิดชอบ การวินิจฉัยชุมชนเชิงปริมาณ บนพื้นฐานของการใช้ Routine data (CLU 7): ข้อมูลจาการมารับบริการที่สถานบริการปฐมภูมิในชุมชน ข้อมูลจาการมารับบริการที่ รพ. (DLU 4) ข้อมูลที่ไปรับบริการที่อื่น (เท่าที่สามารถเข้าถึงได้) การวินิจฉัยชุมชนเชิงคุณภาพ (CLU 8): การรับรู้จากการให้บริการที่ รพ. (DLU 1) / สถานบริการในชุมชน (CLU 1) การเยี่ยมบ้าน/ให้บริการที่บ้าน (CLU 2) การร่วมประชุมกับชุมชน (CLU 6) จากข้อมูลพื้นฐานที่มีการเก็บโดยใช้เครื่องมือทางมานุษยวิทยา FLU CLU DLU

การร่วมทำโครงการพิเศษ (DLU 3) Practices: เลือกหน่วยการเรียน (Learning Units) เพื่อใช้ทฤษฎี support การปฏิบัติ : 70-80% ผสมผสาน (เจาะลึกบาง) งาน Routine 20-30% Extra-workloads การร่วมทำโครงการพิเศษ (DLU 3) การทำวิจัย & พัฒนา บนพื้นฐานของการสร้างการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่างๆ ภายในอำเภอ (Inter-sectoral collaboration) การทำ Case-conferences (DLU 5) ร่วมกับทุกสถานบริการปฐมภูมิในชุมชนในอำเภอ: ครึ่งวัน, 1-2 เดือน/ครั้ง FLU CLU DLU

การบันทึกและเก็บหลักฐานประสบการณ์การเพิ่มสมรรถนะ: Electronic Portfolio Practices: เลือกหน่วยการเรียน (Learning Units) เพื่อใช้ทฤษฎี support การปฏิบัติ : 70-80% ผสมผสาน (เจาะลึกบาง) งาน Routine 20-30% Extra-workloads การบันทึกและเก็บหลักฐานประสบการณ์การเพิ่มสมรรถนะ: Electronic Portfolio การสังเคราะห์ประสบการณ์ด้วยการบรรยาย การเก็บหลักฐานเป็น Electronic files Pictures Video PowerPoint Word-documents Etc. FLU CLU DLU

การประเมินผล Practices: FLU Electronic Portfolio 1 family report เลือกหน่วยการเรียน (Learning Units) เพื่อใช้ทฤษฎี support การปฏิบัติ : 70-80% ผสมผสาน (เจาะลึกบาง) งาน Routine 20-30% Extra-workloads การประเมินผล Electronic Portfolio 1 family report ดุลยพินิจของ Preceptors สมัครสอบ อว. (ตามความสมัครใจและความพร้อม) ตามเงื่อนไขของราชวิทยาลัยฯ โดยไม่มีสิทธิพิเศษใดๆ FLU CLU DLU

CBL (FPL) : เรียนในสิ่งที่ทำ* ทำในสิ่งที่เรียน บริการปฐมภูมิ: การเคลื่อนไหวในพื้นที่ ผู้รับบริการ ครอบครัว-ชุมชน Acute Psychosocial ความสัมพันธ์ สมรรถนะ สุข ภาวะ Continuity Health promotion ผู้เรียน ทีม-ระบบ ความทุกข์ โรค-การเจ็บป่วย สมรรถนะ ↑ เนื้อหา ↑ คุณค่า บริบท ↑ การจัดการทรัพยากร “องค์ความรู้” ในสถาบันการศึกษา การให้บริการปฐมภูมิ คุณค่า “ความเป็นบุคคล” เงื่อนไขและองค์ประกอบรอบบริการ (ที่เอื้อต่อการให้บริการปฐมภูมิ) CBL (FPL) : เรียนในสิ่งที่ทำ* ทำในสิ่งที่เรียน (*ที่ยังไม่รู้ หรือรู้ทฤษฎีและหลักการแต่ยังไม่มั่นใจ หรือรู้ทฤษฎีและหลักการแต่ยังทำไม่ได้)

ขอบคุณครับ