FPL: Family Practice Learning การฝึกปฏิบัติ โดยใช้ รพช. เป็นฐาน Context Based Learning: CBL Competencies outcomes Individual-Team-System Identified learning activities Identified learning activities Curriculum Theories & Practices FPL: Family Practice Learning การฝึกปฏิบัติ โดยใช้ รพช. เป็นฐาน บทเรียนจากประสบการณ์... นพ. ยงยุทธ พงษ์สุภาพ 3 ธันวาคม 2555
5 Weekends (Regular exchanges) & Reading materials Practices: เลือกหน่วยการเรียน (Learning Units) เพื่อใช้ทฤษฎี support การปฏิบัติ : 70-80% ผสมผสาน (เจาะลึกบาง) งาน Routine 20-30% Extra-workloads Preceptors: FLU Family เป็น Learning Unit: อย่างน้อย 5 ครอบครัว: สมาชิก ~ 20 -30 คน Community เป็น Learning Unit: อย่างน้อย 1 ตำบล (ชุมชน) และ 1 สถานบริการในชุมชน ~ 5000 คน DHS เป็น Learning Unit: ปฏิบัติงาน ในฐานะทีมแพทย์และทีมงานของ รพช. (เป็นส่วนหนึ่งของการฝึกปฏิบัติ) และทีมงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS: District Health System) Theories: FM Principles & Human aspiration 5 Weekends (Regular exchanges) & Reading materials CLU DHS Inspiration & Support DLU
Practices: เลือกหน่วยการเรียน (Learning Units) เพื่อใช้ทฤษฎี support การปฏิบัติ : 70-80% ผสมผสาน (เจาะลึกบาง) งาน Routine 20-30% Extra-workloads การฝึกปฏิบัติที่ รพช.: 70-80% ของเวลาที่ใช้ในการทำงาน/ฝึกปฏิบัติอยู่ที่ รพช. OPD แต่ละวัน: ครอบครัวที่เลือก (0-2 คน: FLU 2) ชุมชนที่เลือก (10-20 คน: CLU 2) และ OPD ทั่วไป (50-80 คน: DLU 2) Extra-workloads: VDO recording + การประเมิน Consultation process Ward, ER, OR: ครอบครัว/ชุมชนที่เลือก (DLU 1) และผู้รับบริการทั่วไป (DLU 2) สื่อสารกับ จนท. รพ.สต. (สอ.) สร้างความสัมพันธ์ (โน้มน้าว) ให้ร่วมติดตาม-เรียนรู้ ผู้ป่วยที่เป็นสมาชิกของชุมชนที่เลือก ใน Ward (CLU 4) การให้คำปรึกษาทางไกล (CLU 5) : สถานบริการปฐมภูมิที่อยู่ในความรับผิดชอบ FLU CLU DLU
Practices: เลือกหน่วยการเรียน (Learning Units) เพื่อใช้ทฤษฎี support การปฏิบัติ : 70-80% ผสมผสาน (เจาะลึกบาง) งาน Routine 20-30% Extra-workloads การฝึกปฏิบัติที่ สถานบริการปฐมภูมิในชุมชน: สัปดาห์ละครั้ง - เดือนละครั้ง การให้บริการในห้องตรวจ (CLU 1) VDO recording ในสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศของ HC + การประเมิน Consultation process การนิเทศเพื่อเพิ่มสมรรถนะ (CLU 3) การสังเกตเงียบ (Silent observation) การอภิปรายและแลกเปลี่ยนหลังการสังเกต FLU CLU DLU
การให้บริการที่บ้าน Practices: FLU เลือกหน่วยการเรียน (Learning Units) เพื่อใช้ทฤษฎี support การปฏิบัติ : 70-80% ผสมผสาน (เจาะลึกบาง) งาน Routine 20-30% Extra-workloads การให้บริการที่บ้าน ครอบครัวที่อยู่ในความรับผิดชอบ (FLU 3): มีข้อบ่งชี้ (Indications) เพื่อให้เห็นถึงความจำเป็นของการให้บริการที่บ้าน ชุมชนที่อยู่ในความรับผิดชอบ (CLU 2) ร่วมให้บริการที่บ้านกับทีมผู้ให้บริการปฐมภูมิที่อยู่ในชุมชน เป็นส่วนหนึ่งของทีมผู้ให้บริการที่บ้านของโรงพยาบาล: งาน Routine ของโรงพยาบาล (DLU 2) FLU CLU DLU
การเยี่ยมบ้าน Practices: FLU ครอบครัวที่เลือก CLU DLU เลือกหน่วยการเรียน (Learning Units) เพื่อใช้ทฤษฎี support การปฏิบัติ : 70-80% ผสมผสาน (เจาะลึกบาง) งาน Routine 20-30% Extra-workloads การเยี่ยมบ้าน ครอบครัวที่เลือก ทำความรู้จัก/ทำความเข้าใจ: ครั้งแรก (FLU 1) ติดตาม/เรียนรู้ (กรณีไม่มีกิจกรรมการให้บริการที่บ้านเกินกว่า 3 เดือน): life-cycle, dynamicity, etc. (FLU 4) FLU CLU DLU
การตามเยี่ยม ผป. ในระดับ 2o และ 3o care (FLU 5) Practices: เลือกหน่วยการเรียน (Learning Units) เพื่อใช้ทฤษฎี support การปฏิบัติ : 70-80% ผสมผสาน (เจาะลึกบาง) งาน Routine 20-30% Extra-workloads การตามเยี่ยม ผป. ในระดับ 2o และ 3o care (FLU 5) ครอบครัวที่อยู่ในความรับผิดชอบและได้รับการส่งต่อไปยัง 2o และ 3o care การร่วมประชุมชาวบ้าน (CLU 6) การแนะนำตัวและทำความรู้จักและทำความเข้าใจกับกลุ่มผู้นำชุมชน ร่วมประชุมชนที่อยู่ในความรับผิดชอบ: ทุกครั้งที่มีโอกาสร่วมกับผู้ให้บริการปฐมภูมิที่อยู่ในชุมชน FLU CLU DLU
Practices: FLU CLU DLU การวินิจฉัยชุมชนที่อยู่ในความรับผิดชอบ เลือกหน่วยการเรียน (Learning Units) เพื่อใช้ทฤษฎี support การปฏิบัติ : 70-80% ผสมผสาน (เจาะลึกบาง) งาน Routine 20-30% Extra-workloads การวินิจฉัยชุมชนที่อยู่ในความรับผิดชอบ การวินิจฉัยชุมชนเชิงปริมาณ บนพื้นฐานของการใช้ Routine data (CLU 7): ข้อมูลจาการมารับบริการที่สถานบริการปฐมภูมิในชุมชน ข้อมูลจาการมารับบริการที่ รพ. (DLU 4) ข้อมูลที่ไปรับบริการที่อื่น (เท่าที่สามารถเข้าถึงได้) การวินิจฉัยชุมชนเชิงคุณภาพ (CLU 8): การรับรู้จากการให้บริการที่ รพ. (DLU 1) / สถานบริการในชุมชน (CLU 1) การเยี่ยมบ้าน/ให้บริการที่บ้าน (CLU 2) การร่วมประชุมกับชุมชน (CLU 6) จากข้อมูลพื้นฐานที่มีการเก็บโดยใช้เครื่องมือทางมานุษยวิทยา FLU CLU DLU
การร่วมทำโครงการพิเศษ (DLU 3) Practices: เลือกหน่วยการเรียน (Learning Units) เพื่อใช้ทฤษฎี support การปฏิบัติ : 70-80% ผสมผสาน (เจาะลึกบาง) งาน Routine 20-30% Extra-workloads การร่วมทำโครงการพิเศษ (DLU 3) การทำวิจัย & พัฒนา บนพื้นฐานของการสร้างการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่างๆ ภายในอำเภอ (Inter-sectoral collaboration) การทำ Case-conferences (DLU 5) ร่วมกับทุกสถานบริการปฐมภูมิในชุมชนในอำเภอ: ครึ่งวัน, 1-2 เดือน/ครั้ง FLU CLU DLU
การบันทึกและเก็บหลักฐานประสบการณ์การเพิ่มสมรรถนะ: Electronic Portfolio Practices: เลือกหน่วยการเรียน (Learning Units) เพื่อใช้ทฤษฎี support การปฏิบัติ : 70-80% ผสมผสาน (เจาะลึกบาง) งาน Routine 20-30% Extra-workloads การบันทึกและเก็บหลักฐานประสบการณ์การเพิ่มสมรรถนะ: Electronic Portfolio การสังเคราะห์ประสบการณ์ด้วยการบรรยาย การเก็บหลักฐานเป็น Electronic files Pictures Video PowerPoint Word-documents Etc. FLU CLU DLU
การประเมินผล Practices: FLU Electronic Portfolio 1 family report เลือกหน่วยการเรียน (Learning Units) เพื่อใช้ทฤษฎี support การปฏิบัติ : 70-80% ผสมผสาน (เจาะลึกบาง) งาน Routine 20-30% Extra-workloads การประเมินผล Electronic Portfolio 1 family report ดุลยพินิจของ Preceptors สมัครสอบ อว. (ตามความสมัครใจและความพร้อม) ตามเงื่อนไขของราชวิทยาลัยฯ โดยไม่มีสิทธิพิเศษใดๆ FLU CLU DLU
CBL (FPL) : เรียนในสิ่งที่ทำ* ทำในสิ่งที่เรียน บริการปฐมภูมิ: การเคลื่อนไหวในพื้นที่ ผู้รับบริการ ครอบครัว-ชุมชน Acute Psychosocial ความสัมพันธ์ สมรรถนะ สุข ภาวะ Continuity Health promotion ผู้เรียน ทีม-ระบบ ความทุกข์ โรค-การเจ็บป่วย สมรรถนะ ↑ เนื้อหา ↑ คุณค่า บริบท ↑ การจัดการทรัพยากร “องค์ความรู้” ในสถาบันการศึกษา การให้บริการปฐมภูมิ คุณค่า “ความเป็นบุคคล” เงื่อนไขและองค์ประกอบรอบบริการ (ที่เอื้อต่อการให้บริการปฐมภูมิ) CBL (FPL) : เรียนในสิ่งที่ทำ* ทำในสิ่งที่เรียน (*ที่ยังไม่รู้ หรือรู้ทฤษฎีและหลักการแต่ยังไม่มั่นใจ หรือรู้ทฤษฎีและหลักการแต่ยังทำไม่ได้)
ขอบคุณครับ