กว่าจะมาเป็น … เครือข่าย เครือข่ายกาแฟเป็นกลไกหนึ่ง (ที่สำคัญ) ในการรวบรวมกาแฟ ความเข้มแข็งของเครือข่ายกาแฟ กำหนดราคารับซื้อเมล็ดกาแฟจากสมาชิกเกษตรกร (ใช้ในการอ้างอิงราคาระหว่างเครือข่าย)** ปริมาณการรวบรวมและเก็บ Stockเพิ่มขึ้น **สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร และกระทรวงพาณิชย์ ได้นำราคารับซื้อเมล็ดกาแฟของสหกรณ์/กลุ่มฯ ไปเป็นราคาประกาศอ้างอิงในแต่ละวัน
ความเข้มแข็งของเครือข่าย เราคือพวกเดียวกัน ความเป็นพี่น้อง มีระบบการจัดการเครือข่ายธุรกิจกาแฟร่วมกัน เช่น มีการแบ่งหน้าที่กรรมการเครือข่าย มีเวทีประชุมหารือต่อเนื่อง และนำผลการประชุมกลับไปร่วมกันวางแผนทำธุรกิจเครือข่ายกาแฟ
กำหนด หน้าที่และกิจกรรม เครือข่าย แผนการรวบรวม ผลผลิตกาแฟ กำหนดราคารับซื้อ ของสถาบันเกษตรกร การเชื่อมโยง การเก็บ Stock กาแฟ สร้างเครือข่ายย่อย ในกลุ่มผู้ปลูกกาแฟ ใน 2 จังหวัด การตัดสินใจ จำหน่ายร่วมกัน กำหนด หน้าที่และกิจกรรม เครือข่าย ตั้งคณะทำงาน/ ประชุมคณะทำงาน ถ่ายทอดองค์ความรู้ ด้านการผลิต จัดหาแหล่งเงินทุน วางแผนแบบ บูรณาการ แผนการ แปรรูปกาแฟ ร่วมกันจัดหา ปัจจัยการผลิต รูปแบบเครือข่าย
ระบบการจัดการเครือข่ายการรวบรวมผลผลิตกาแฟ ในสถาบันเกษตรกร มอบหมายผู้แทนหลักในการกำหนดราคา และคุณภาพเรียกว่า “แม่ข่าย” “แม่ข่าย” มีหน้าที่ต่อรองและเคาะราคา ระบบการจัดการเครือข่ายกาแฟ ประชุมหารือระหว่างเครือข่ายรวบรวมผลผลิต กาแฟในจังหวัดชุมพรและจังหวัดระนอง ประสาน/เชื่อมโยงข้อมูลระหว่างเครือข่าย รวบรวมผลผลิตกาแฟอย่างต่อเนื่อง เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ในจังหวัดเป็นพี่เลี้ยงและให้คำแนะนำ
บทสรุป : วิวัฒนาการของเครือข่ายกาแฟ 14 สหกรณ์/กลุ่ม 3 จังหวัด ถ่ายทอดความรู้/แนวทางขับเคลื่อนโครงการ ตกลงรวมกันเป็นเครือข่าย แต่งตั้งเป็นคณะทำงานและร่วมกันกำหนดกิจกรรมเครือข่าย เครือข่ายร่วมกันจัดทำแผนรวบรวมผลผลิตกาแฟในแต่ละฤดูการผลิต แลกเปลี่ยนประสบการณ์การรวบรวมผลผลิตทบทวนและร่วมกันกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหา 2556 14 สหกรณ์/กลุ่ม 3 จังหวัด 2555 11 สหกรณ์/กลุ่ม 2 จังหวัด ขยายกลุ่ม สก./กลุ่ม ชุมพร-ระนอง-เชียงใหม่ 2554 ขยายกลุ่ม สก./กลุ่ม ชุมพร-ระนอง 3 สหกรณ์ 2 จังหวัด 2553
ด้วยความขอบคุณ กลุ่มส่งเสริมพัฒนาธุรกิจด้านพืชและผลิตภัณฑ์ สำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์