ทิศทางการทำวิจัย เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
Advertisements

ชื่อโครงการ : การประเมินความต้องการตอบสนองการทำงานของ
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
การประชาสัมพันธ์ห้องสมุด อย่างมืออาชีพ
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้ชุดมินิคอร์ส
Seminar in computer Science
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
หัวข้อโครงงาน สื่อการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ : มาตรฐานอาคารเขียว
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แบบทดสอบก่อนเรียน วิชา โครงงานคอมพิวเตอร์
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.
ป.บัณฑิต การบริหารการศึกษา รุ่นที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นสื่อการเรียนการสอนที่เกิดจากวิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโทรคมนาคม การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอนจะออกมาในลักษณะของสื่อประสม.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โดย ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
คำว่า e-Learning คือ การ เรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได้ ซึ่งการ ถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทำ ผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
Information Technology : IT
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
ADDIE Model.

การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่

----- ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสำหรับการสอนวิชา SPSS ชื่อผู้วิจัย นางเขมิกา ภาคเกษี สังกัดวิทยาลัย.
ชิ้นงานที่ 3 ชื่อนางสาวจรรยา พุฒเจริญ. โครงงานคอมพิวเตอร์เป็น งานวิจัยในระดับนักเรียนเป็น การใช้คอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์อื่นๆที่มีอยู่ใน การศึกษาทดลองแก้ปัญหา.
นางสาวประพันธ์ศรี สมจันทร์ฉาย
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ทฤษฎีการเรียนรู้ กับการพัฒนานวัตกรรม
ชื่อผลงานวิจัย ศึกษาการพัฒนาทักษะด้านการพิมพ์สัมผัสด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ

นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การส่งเสริมความสามารถด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสามารถนำไปประยุกต์ในด้านต่างๆได้
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนักเรียน-นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางอรอนงค์ ชูศรี
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประกอบ ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประกอบการเรียนทางไกลแบบสองทางพร้อมสื่อประสมผ่านดาวเทียม เรื่อง Computer.
เรื่อง การพัฒนาทักษะการติดตั้งระบบเครือข่ายโดยใช้โปรแกรม VMware 8.0

ชื่อเรื่องงานวิจัย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การส่งเสริมการรู้คำศัพท์เพื่อเขียน โปรแกรม Microsoft Visual Basic ชื่อเรื่อง + ชื่อผู้วิจัย + สังกัดวิทยาลัย.
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สามารถ นำไปประยุกต์ในด้านต่างๆ เสนอโดย ด. ช. ปพนธีร์ สิทธิคณากูล ม.1/6 เลขที่ 12 ด. ช. ศุภกร พูลโภคะ ม.1/6 เลขที่ 11 ด.
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการทำวิจัย เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)

เนื้อหา ความหมายของ - การวิจัย และขั้นตอนของการวิจัย - สื่อ - CAI การใช้ Technology (Appropriate Technology) CAI ที่น่าสนใจ และรายชื่อ CAI ที่ได้รับรางวัล ประเด็นที่เป็นจุดด้อยของการทำ CAI การวิจัยและพัฒนา CAI - ในปัจจุบัน - แนวโน้มในอนาคต

การวิจัย (Research ) หมายถึง เป็นการค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วน ตามหลักวิชา ( พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิต : 2525 ) การหาแล้วหาอีก หาจนกระทั่งมั่นใจว่า ได้ข้อเท็จจริงในเรื่องนั้นๆ จนถี่ถ้วนแล้ว (บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ )

การวิจัย (Research ) หมายถึง “Scientific research is systematic, controlled,empirical, and critical investigation of natural phenomena guided by theory and hypotheses about the presumed relations among such phenomena” (Fred N. Kerlinger,1986 )

สื่อ (medium , pl. media) มาจากภาษาลาตินว่า medium แปลว่า “ระหว่าง” หมายถึง สิ่งใดก็ตามที่บรรจุข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่ง และผู้รับสามารถสื่อสารกันได้ตรงตาม วัตถุประสงค์ เมื่อมีการนำสื่อมาใช้ใน การเรียนการสอน จึงเรียกว่า สื่อการสอน (Instructional Media)

CAI Computer Aided(Assisted) Instruction ความหมาย โปรแกรมที่ใช้เป็นเครื่องมือ ช่วยสอน เช่น ช่วยนำเสนอ บทเรียน ตั้งคำถามให้ตอบ หรือ ทดสอบความเข้าใจของผู้เรียน

ลักษณะของ CAI ที่น่าสนใจ Interaction On Demand Multimedia Knowledge Integration

การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม (Appropriate Technology) ทันสมัย แต่ไม่จำเป็นต้องตามกระแส ยึดเด็กเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ สนองการปฏิรูปการศึกษา มุ่งพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในทุก ๆ ด้าน ( ไม่ใช่เพียงแต่ใช้สื่อเพื่อยั่วยุ หรือสาระบันเทิง เท่านั้น)

CAI ที่ได้รับรางวัลจาก NECTEC

หัวหน้าโครงการ นายวรวุฒ วุฒิจารุวงศ์ นายทรงศักดิ์ จันทร์เพ็ญ ระบบสุริยจักรวาล หัวหน้าโครงการ นายวรวุฒ วุฒิจารุวงศ์ นายทรงศักดิ์ จันทร์เพ็ญ นายสุชาติ ล้อกาญจนกุล นายกงพัฒน์ กาญจนวิวัฒน์ สถานศึกษา ภาควิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม 1

เรื่อง โปรแกรมตารางธาตุ หัวหน้าโครงการ นางสาวนิอร ชูกาญจนพิทักษ์ หัวหน้าโครงการ นางสาวนิอร ชูกาญจนพิทักษ์ นายสุธา เหลือลมัย สถานศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2

รอบรู้เรื่องยาเพื่อรักษาโรคหืด หัวหน้าโครงการ นายโสฬศ โสตถิถาวร หัวหน้าโครงการ นายโสฬศ โสตถิถาวร นายจุมภฎ โสตถิถาวร สถานศึกษา คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3

เกมส์ครอสเวิร์ดข้ามเครือข่าย หัวหน้าโครงการ นายวิชิต วัฒนไพลิน หัวหน้าโครงการ นายวิชิต วัฒนไพลิน นายวรวิทย์ รัตนธเนศวิไล สถานศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง 1

หัวหน้าโครงการ นายพุฒิพันธ์ พลยานันท์ BOMBMAN3 หัวหน้าโครงการ นายพุฒิพันธ์ พลยานันท์ สถานศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2

โปรแกรมสำเร็จรูปเกมส์ปริศนาค้นคำ หัวหน้าโครงการ นางสาวพึงพิศ กันศรีเวียง สถานศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฏเชียงราย 3

โปรแกรมสำเร็จรูปเกมส์ปริศนาค้นคำ

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การวัดอัตราการไหล หัวหน้าโครงการ นายไกรศรี เหลียวพัฒนพงศ์ นายสยามราช มังคละคีรี สถานศึกษา สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตนนทบุรี 3

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การวัดอัตราการไหล

การพัฒนาโปรแกรมช่วยสอนวิชาพยาธิวิทยาทั่วไป หัวหน้าโครงการ นางสาวศิริพร แสงขาว นางสาวสมจิตร รุ่งรัตน์ สถานศึกษา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชมเชย 1

การพัฒนาโปรแกรมช่วยสอนวิชาพยาธิวิทยาทั่วไป

ประเด็นที่เป็นจุดด้อยของการทำ CAI ทำแต่เรื่องง่าย มีเฉพาะตอนต้น - ไม่จบเรื่อง บางสาขาวิชาไม่มีคนทำ กฎหมายลิขสิทธิ์มีผลไม่สมบูรณ์ ขาดการตรวจสอบความถูกต้อง

การวิจัยและพัฒนา CAI ในปัจจุบันมุ่งเน้น การสร้าง นำไปทดลองใช้ การศึกษา วิเคราะห์ ผ่าน Internet

การวิจัยและพัฒนา CAI แนวโน้มในอนาคต การบริหารและจัดการสื่อให้มีประสิทธิภาพ การสร้างระบบฐานข้อมูลสารสนเทศสื่อ CAI

การวิจัยและพัฒนา CAI แนวโน้มในอนาคต การบูรณาการ ( Integration )

การวิจัยและพัฒนา CAI แนวโน้มในอนาคต การจัด CAI Resource Center

สวัสดี อธิปัตย์ คลี่สุนทร