ตัวอย่าง : 8 ขั้นตอนของกระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
OpenProject รุ่นที่ มกราคม 2553 การเคหะแห่งชาติ อ
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
Thesis รุ่น 1.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การวางแผนและการดำเนินงาน
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การติดตาม และประเมินโครงการ.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
กระบวนการคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.
และข้อมูลระดับภาควิชา (SAR – II)
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 8.
1 3 - Part 7 แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินหลังเรียน.
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
หมวด2 9 คำถาม.
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
ขั้นตอนที่ 5(การนำเสนอแฟ้มผลงาน) โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จังหวัดลำปาง
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การนำผลการวิจัยไปใช้
ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
ประเด็นสำคัญในการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
มาตรฐานการควบคุมภายใน
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
หลักสูตรฝึกอบรม เทคนิคการวางแผนคนวางแผนงานสำหรับหัวหน้างาน
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานราชการ ณ ส่วนแผนงานและพัฒนางานประชาสัมพันธ์ สำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 เชียงใหม่
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
โดย อารมณ์ ผิวดำ สพม.38 (สุโขทัย-ตาก)
การสร้างทีมงานในการบริหารโครงการ
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวอย่าง : 8 ขั้นตอนของกระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยง หมายเหตุ ตัวอย่างของแผนบริหารความเสี่ยงนี้เป็นนำเสนอ การจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงในประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดที่ 2 โดยหน่วยงานของท่านสามารถนำตัวอย่างในการจัดทำแผนดังกล่าวไปใช้ได้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ ขอให้ท่านโปรดส่งเอกสารแผนบริหารความเสี่ยงของหน่วยงานมายัง สำนักงานจังหวัดภายใน วันที่ 16 มิถุนายน 2551 และโปรดแนบไฟล์ของเอกสารดังกล่าวลงในแผ่นซีดี (CD) มาพร้อมกับเอกสารด้วย

ขั้นตอน 1: ระบุงานตามภารกิจ และ งานเชิงยุทธศาสตร์ที่มีความสำคัญ และ ควรได้รับความสนใจอย่างเร่งด่วน (งานที่จะนำมาลงในรายการเหล่านี้จะต้องได้รับการกลั่นกรองมาก่อนแล้วว่ามีความสำคัญ และ เร่งด่วนจริง)

ขั้นตอน 2: ประเมินระดับความเสี่ยงของแต่ละงานจาก ความถี่ในการเกิดขึ้นของปัญหา ความยากในการควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกับงานนั้นๆ ผลกระทบจากปัจจัยภายนอก และ ระดับของผลกระทบที่ปัญหาจากงานนั้นจะมีต่อบุคคล หน่วยงาน และ/หรือ องค์กรอื่นๆ งานตามภารกิจ

งานตามประเด็นยุทธศาสตร์ ขั้นตอน 2: ประเมินระดับความเสี่ยงของแต่ละงานจาก ความถี่ในการเกิดขึ้นของปัญหา ความยากในการควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกับงานนั้นๆ ผลกระทบจากปัจจัยภายนอก และ ระดับของผลกระทบที่ปัญหาจากงานนั้นจะมีต่อบุคคล หน่วยงาน และ/หรือ องค์กรอื่นๆ งานตามประเด็นยุทธศาสตร์

ขั้นตอน 3: Plot แผนภูมิที่แสดงให้เห็นว่า งานแต่ละประเภทที่ได้ถูกระบุในขั้นตอนแรกมีความเสี่ยงแตกต่างกันอย่างไร งานตามภารกิจ

ขั้นตอน 3: Plot แผนภูมิที่แสดงให้เห็นว่า งานแต่ละประเภทที่ได้ถูกระบุในขั้นตอนแรกมีความเสี่ยงในแต่ละมิติแตกต่างกันอย่างไร งานตามประเด็นยุทธศาสตร์

ขั้นตอน 4: ใช้แผนภูมิก้างปลาเพื่อช่วยระบุหาเหตุปัจจัยที่ทำให้งานแต่ละประเภทมีความเสี่ยง โดย อิงเหตุปัจจัยของความเสี่ยงจากหลักการ 7s และ SLEPT-ME (7S: Structure, Strategy, Systems, Style, Staffs, Skills, และ Shared Value; SLEPT-ME: S (Social), L (Law), E (Economy), P (Politics), T (Technology), M (Market), และ E (Environment) ) Staff Skills Systems Technology Social Structure Staffs Style Technology Law

ขั้นตอน 4: ใช้แผนภูมิก้างปลาเพื่อช่วยระบุหาเหตุปัจจัยที่ทำให้งานแต่ละประเภทมีความเสี่ยง โดย อิงเหตุปัจจัยของความเสี่ยงจากหลักการ 7s และ SLEPT-ME (7S: Structure, Strategy, Systems, Style, Staffs, Skills, และ Shared Value; SLEPT-ME: S (Social), L (Law), E (Economy), P (Politics), T (Technology), M (Market), และ E (Environment) ) Structure Staffs Style Economy Envi- -ronment Strategy Shared Value Style Technology Politics Staff Skills Systems Social Law

โครงการ และ/หรือ แผนปฏิบัติการป้องกันความเสี่ยง ขั้นตอน 5: กำหนดโครงการที่จะช่วยลดความเสี่ยงโดยมุ่งเน้นไปที่การแก้ไขปรับปรุงที่เหตุปัจจัย งานตามภารกิจ โครงการ และ/หรือ แผนปฏิบัติการป้องกันความเสี่ยง

โครงการ และ/หรือ แผนปฏิบัติการ ป้องกันความเสี่ยง ขั้นตอน 5: กำหนดโครงการที่จะช่วยลดความเสี่ยงโดยมุ่งเน้นไปที่การแก้ไขปรับปรุงที่เหตุปัจจัย โครงการ และ/หรือ แผนปฏิบัติการ ป้องกันความเสี่ยง

ขั้นตอน 6: นำรายละเอียดของโครงการและ/หรือแผนปฏิบัติการที่คิดขึ้นได้ในขั้นตอนที่ 5 นำไปใส่ในตารางข้างล่าง (ตัวอย่างที่ให้จะเป็นของงานตามภารกิจเท่านั้น) กลุ่มของงาน รายละเอียดของงาน ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น โครงการ และ ขั้นตอนที่เกี่ยวข้อง ในการลดปัญหา และ บริหารจัดการความเสี่ยง เวลาที่จะเริ่มปฏิบัติ ผลที่คาดหวังและระยะเวลาหวังผล งานตามภารกิจ (Routine Task) งานจัดทำรายงาน PMQA SKILLS บุคลากรไม่เข้าใจกระบวนการจัดทำที่เหมาะสม Shared Value บุคลากรเห็นว่าเป็นงานที่น่าเบื่อ และ ทำให้สิ้นเปลืองเวลาโดยใช่เหตุ โครงการ พัฒนาทักษะและปลูกฝังทัศนคติที่ดีในการจัดทำ PMQA กำหนดทีมงาน ระบุประเภทของงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำ PMQA จัดฝึกอบรมเกี่ยวกับ PMQA จัดทำ WORKSHOP จัดทีมงานให้คำปรึกษา มีเบอร์ HOTLINE ที่จะช่วยให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาได้ตลอดเวลาทำงาน ทำการเก็บตัวอย่างที่เหมาะสม และ นำลงบน Website ควบคุมคุณภาพ และ ติดตามผลอย่างสม่ำเสมอ (ทุก 2 สัปดาห์) ช่วยปรับปรุง แก้ไขการรายงานผลทุกระยะ และ สานงานต่อจนเสร็จลุล่วงสมบูรณ์ 01/06/2551 ผลที่คาดหวัง ทำให้ผู้ปฏิบัติมีทักษะในการจัดทำ PMQA มากยิ่งขึ้น ทำให้ผู้ปฏิบัติรู้สึกอุ่นใจ และ สบายใจในการจัดทำ PMQA มากยิ่งขึ้น จังหวัดสามารถจัดทำการรายงานผลการปฏิบัติการตามข้อกำหนดของ PMQA ได้อย่างสมบูรณ์แบบและส่งผลได้ตรงเวลา ระยะเวลาที่คิดว่าจะแล้วเสร็จ: ตามหมายกำหนดการที่กำหนดโดย กพร

ขั้นตอน 7: นำโครงการที่ระบุในขั้นตอนที่ 6 ไปปฏิบัติจริง ทำการบันทึก เก็บเอกสาร รวบรวม เรียบเรียงเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำโครงการ และ/หรือ แผนปฏิบัติการทั้งหมดให้อยู่ในรูปเล่ม ขั้นตอน 8: หลังจากที่ได้จัดทำขั้นตอนที่ 7 แล้ว ให้ทำการรายงานผลทั้งหมดตามแบบฟอร์มข้างล่าง