การปรับเปลี่ยนการดำเนินการ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนการคลัง สำนักบริหารแผนและการคลัง
Advertisements

หน้าที่ความรับผิดชอบ
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
การนำส่งภาษีผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สำนักงานตรวจสอบภายใน
งานพนักงานราชการและลูกจ้าง
ตารางเปรียบเทียบการจ้างงาน ค่าตอบแทน สวัสดิการต่างๆ ระหว่างลูกจ้างชั่วคราว (เงินบำรุง) กับพนักงานกระทรวงสาธารณสุข.
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
การยืมเงินรองจ่าย งานคลังและพัสดุ คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ถุงเงิน ถุงทอง.
ที่มาของโครงการ เจ้าหนี้การค้าในประเทศมากกว่า 5 พันราย ซึ่งเดิมจ่ายชำระด้วย CHQ และเปลี่ยนเป็นการจ่ายชำระหนี้เงินโอน 1,970 ราย พบปัญหา เจ้าหนี้เงินโอนสอบถามรายการจ่ายชำระหนี้
งานทรัพยากรบุคคล การปรับเปลี่ยนการดำเนินการ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
หัวข้อการอบรมระบบการจัดการโครงสร้างองค์กร (Organizational Management)
การควบคุมการใช้ยานพาหนะและ การรายงานการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง
ผศ.ดร. วนาวัลย์ ดาตี้ ผู้ช่วยอธิการบดี
การรับและนำส่งเงินรายรับค่ารักษาพยาบาล
แนวทางการเตรียมตัวและเตรียมความพร้อมก่อน - หลังเกษียณอายุ
สำนักกำกับและพัฒนาระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์
สำนักกำกับและพัฒนาระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555
เป็นการย้ายข้าราชการไปแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่ต่ำกว่าเดิม
การจ้างลูกจ้างชั่วคราว
การสั่งให้ข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งในระดับควบตำแหน่งเลขที่หนึ่งไปแต่งตั้ง
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติในการจ่ายเงินให้กับ ผู้มีสิทธิรับเงินตามโครงการช่วยเหลือค่าครองชีพประชาชนและบุคลากรภาครัฐ.
การคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครูผู้ช่วย กรณีที่มีความจำเป็นหรือมีเหตุพิเศษ 1.
โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
ขั้นตอนการดําเนินงานของกองคลังที่เกี่ยวข้องกับ หน่วยงานอื่น
การประชุมOEC-4R ครั้งที่ 11/ DECEMBER 53
การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งในระดับ 1- 3
ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราว ของข้าราชการและลูกจ้างประจำของส่วนราชการ (ฉบับที่ 5) พ.ศ
ระบบเบิกจ่าย การ LOCK รายการตั้งเบิกกรณีที่มีค่าปรับ
ระบบจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.03 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
ชื่อหน่วยงาน ฝ่าย/งาน ก.
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
ระเบียบวาระที่ 3.2 ความก้าวหน้าของการจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศข้าราชการระดับกรม (DPIS)
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง
การชี้แจงวิธีการใช้งาน ระบบติดตามออนไลน์
ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 1325/2552)
เรื่องใหม่ที่จะเกิดขึ้น
หลักเกณฑ์การเปลี่ยนสายงาน (ชื่อตำแหน่ง) ลูกจ้างประจำ
การบันทึกลดหย่อนภาษี(ล.ย.01) และต้นทุนกิจกรรมย่อย
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ

การจำแนกประเภทรายจ่าย
งบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
การบันทึกบัญชีและการจัดทำรายงานการเงิน
นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการพิเศษ สพม. 34 เบอร์ติดต่อ
หลักเกณฑ์การสอบคัดเลือก หรือคัดเลือก
Payroll.
แนวทางการเบิกจ่ายเงินอุดหนุน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประจำปี 2555
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
การตรวจสภาพถนนไร้ฝุ่น ก่อนคืนค้ำประกันสัญญา
การบริหารเงินทดรองจ่ายหมุนเวียนภายในส่วนงาน
สุทธิรัตน์ รัตนโชติ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
บำเหน็จบำนาญ และ UNDO สุริยงค์ ลูกจันทร์ สำนักงานคลังเขต 4.
ให้รวมถึงบุคคลดังต่อไปนี้ด้วย
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การเลื่อนเงินเดือนประการอื่น ๆ
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปรับเปลี่ยนการดำเนินการ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อรองรับการปฏิบัติงานในระบบ MU-ERP-HR

ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล (MU-ERP-HR) ระบบบริหารเงินเดือนและค่าตอบแทน (Payroll :PY) ระบบงานทะเบียนประวัติบุคลากร Personnel Administration: PA) ระบบงานโครงสร้างองค์กร (Organization Management: OM) ส่วนงานดำเนินการบันทึกข้อมูลประวัติบุคลากรทุกประเภทและประมวลผลเงินเดือนผ่านระบบ

แผนการดำเนินการโครงการ MU – ERP – HR 1 Nov 10 OM PA Go Live 18 - 19 & 23 – 25 Nov 10 PY End Users Training 29 – 30 Nov 10 & 1 Dec 10 PY Simulation#1 16 – 17 Dec 10 PY Simulation#2 29 – 30 Dec 10 Run Payroll for Jan 11 1 Jan 11 PY Go Live

ระบบบริหารเงินเดือนและค่าตอบแทน : PY ประมวลผลเงินเดือนรอบปกติ (Regular Run) ของเดือนที่ 2 วันทำการสุดท้ายของเดือนที่ 1 วางฎีกาไปยังมหาวิทยาลัย ภายในวันที่ 5 ของเดือน ประมวลผลเงินเดือน นอกรอบ (Off-Cycle Run) ภายในวันที่ 7 ของเดือน ภายในวันที่ 10 ของเดือน จ่ายเงินเดือน เดือนที่ 2 ให้บุคลากร 3 วันทำการสุดท้ายก่อนสิ้นเดือน เดือนที่ 1 เดือนที่ 2

แนวปฏิบัติด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อรองรับการปฏิบัติงานในระบบ MU-ERP-HR 1.1. การบรรจุและแต่งตั้งบุคลากรใหม่ วางแผนและดำเนินการล่วงหน้า ระบุผลผลิต แหล่งเงิน และศูนย์ต้นทุนของบุคลากร ตัวอย่าง : พนักงานมหาวิทยาลัยบรรจุใหม่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554 พนักงานได้รับเงินเดือน เดือน ก.พ. ณ สิ้นเดือน ก.พ.54 บันทึกข้อมูลในระบบ ก่อนวันที่ 30 ม.ค.54 พนักงานได้รับเงินเดือนตกเบิก เดือน ก.พ. ณ สิ้นเดือน มี.ค54 หลังวันที่ 30 ม.ค.54 สิทธิในการสมัครสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งดำเนินการได้ต่อเมื่อมีคำสั่ง

แนวปฏิบัติด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อรองรับการปฏิบัติงานในระบบ MU-ERP-HR กระบวนการ แนวปฏิบัติ 1.2.การตัดโอนตำแหน่งและอัตราเงินเดือน / การย้าย (กรณีข้ามส่วนงาน) ส่งผลกระทบถึงการเปลี่ยนแปลงศูนย์ต้นทุนของบุคลากร ส่วนงานที่รับตัดโอน ฯ / ย้าย ส่งเรื่องไปยังมหาวิทยาลัยภายในวันที่ 15 ของเดือนก่อนถึงเดือนที่จะมีผล กำหนดวันที่บังคับใช้ไปล่วงหน้า โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 ของเดือนถัดไป(ไม่ให้ดำเนินการย้อนหลังหรือให้มีผลระหว่างเดือน) 1.3.การพ้นจากงาน บันทึกข้อมูลเข้าระบบ หรือ ระงับการจ่ายเงินเดือนของบุคลากรทันทีเมื่อทราบข้อมูล การติดตาม เรียกเงินคืนเป็นหน้าที่ของ HR ของส่วนงาน 1.4.การเปลี่ยนประเภทบุคลากร ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแหล่งเงิน ส่วนงานดำเนินการล่วงหน้า

แนวปฏิบัติด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อรองรับการปฏิบัติงานในระบบ MU-ERP-HR ตัวอย่าง : กรณีดำเนินการตามข้อ 1.2, 1.3 และ 1.4 หลังจากการประมวลผลเงินเดือน ชี้แจงงานคลังและทำเอกสารขอปรับปรุงบัญชี งานคลังดำเนินการปรับปรุงบัญชีในระบบ AP งานทรัพยากรบุคคลบันทึกข้อมูลเข้าระบบ และประมวลผลย้อนหลังเดือนถัดไป บันทึกรายการปรับปรุงลงในระบบ PY

แนวปฏิบัติด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อรองรับการปฏิบัติงานในระบบ MU-ERP-HR 1.5. การเบิกจ่ายเงินประจำตำแหน่งพนักงานมหาวิทยาลัยตำแหน่งประเภทผู้บริหาร กรณีตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูง ระดับกลาง และระดับต้น (ตามประกาศมหาวิทยาลัย ฯ) กำหนดให้เบิกจ่ายตรงที่ระบบการเงินและบัญชี (AP) เฉพาะกรณีสังกัดส่วนงาน แต่ไปดำรงตำแหน่งบริหารข้ามส่วนงาน ตัวอย่าง : อาจารย์ ก สังกัดส่วนงาน A ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยอธิการบดี ณ สำนักงานอธิการบดี ส่วนงาน A จ่ายเงินเดือนผ่านระบบ PY สำนักงานอธิการบดี จ่ายเงินประจำตำแหน่งประเภทบริหารที่ระบบ AP

แนวปฏิบัติด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อรองรับการปฏิบัติงานในระบบ MU-ERP-HR 1.6. การประมวลผลจ่ายเงินเดือนและค่าตอบแทน จ่ายค่าตอบแทนบุคลากรทุกประเภทผ่านระบบ PY โดยเฉพาะรายการเงินได้หลักที่นำมาคำนวณภาษี ยกเว้นค่าตอบแทนบางประเภทจ่ายตรงที่ระบบการเงินและบัญชี (AP) PY เงินเดือนและค่าตอบแทนบุคลากรทุกประเภท รอบปกติ (รายการเงินได้-เงินหักตามเอกสารหมายเลข 1) รอบพิเศษ AP เงินประจำตำแหน่งประเภทบริหาร (กรณีข้ามส่วนงาน) ค่ารักษาพยาบาลข้าราชการ / ลูกจ้างประจำเงินงบประมาณ ค่าเล่าเรียนบุตรข้าราชการ / ลูกจ้างประจำเงินงบประมาณ ค่ารักษาพยาบาลพนักงานเงินรายได้ เบี้ยประชุม เงินรางวัลกรรมการสอบ ค่าตอบแทนวิทยากร ค่าตรวจกระดาษคำตอบ เงินรางวัลผู้บอกภาษา ค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจการจ้าง เงินสมนาคุณกรรมการสอบสวนวินัยข้าราชการ ค่าตอบแทนครูสอนดนตรี-นาฎศิลป์

แนวปฏิบัติด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อรองรับการปฏิบัติงานในระบบ MU-ERP-HR 1.7. รอบการประมวลผลจ่ายเงินเดือนและค่าตอบแทน กำหนดไว้ 2 รอบ ได้แก่ รอบปกติ (Regular Run) และรอบพิเศษหรือการประมวลผลเงินเดือนนอกรอบ (Off-Cycle Run) ส่วนงานสามารถกำหนดวันประมวลผลจ่ายเงินเดือนได้ตามความเหมาะสมให้สอดคล้องกับการวางฎีกาของมหาวิทยาลัย เงินได้ – เงินหัก ตามเอกสารหมายเลข 1 รอบปกติ (Regular Run) เงินได้ – เงินหักนอกเหนือจากเอกสารหมายเลข 1 อาทิ - ค่าล่วงเวลา - ค่าสอนพิเศษ - ค่ารักษาพยาบาล (OPD/IPD) ของ พม. และ พ.ส่วนงาน - เงินรางวัลประจำปี - เงินชดเชย -เงินบำเหน็จลูกจ้างชั่วคราวชาวต่างประเทศ - ฯลฯ รอบพิเศษ (Off-Cycle Run)

แนวปฏิบัติด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อรองรับการปฏิบัติงานในระบบ MU-ERP-HR 1.8. รอบการเบิกจ่ายเงินเดือนและค่าตอบแทน เบิก 2 รอบ ได้แก่ รอบปกติ (Regular Run) และรอบพิเศษหรือการประมวลผลเงินเดือนนอกรอบ (Off-Cycle Run) จ่ายเงินเดือน 1 ครั้ง – 3 วันทำการก่อนสิ้นเดือน

แนวปฏิบัติด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อรองรับการปฏิบัติงานในระบบ MU-ERP-HR 1.9. การเบิกเงินสวัสดิการของพนักงานมหาวิทยาลัย และพนักงานมหาวิทยาลัย (ชื่อส่วนงาน) บันทึกข้อมูลเพื่อประมวลผลรอบพิเศษ (Off-Cycle Run) จ่ายเดือนละ 1 ครั้งพร้อมเงินเดือน

แนวปฏิบัติด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อรองรับการปฏิบัติงานในระบบ MU-ERP-HR 1.9. การเบิกเงินสวัสดิการของพนักงานมหาวิทยาลัย และพนักงานมหาวิทยาลัย (ชื่อส่วนงาน) ขั้นตอนการดำเนินการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการ ฯ พนักงานมหาวิทยาลัย งาน HR ของส่วนงาน กองทรัพยากรบุคคล ตรวจสอบสิทธิ์ บันทีกข้อมูลเข้าระบบ ส่งเรื่องไปยังมหาวิทยาลัย ภายในวันที่ 27 ตรวจสอบสิทธิ์ อนุมัติข้อมูลเข้าระบบ ส่งเรื่องคืนส่วนงาน ภายในวันที่ 5 ของเดือนถัดไป เสนอเรื่องขอเบิกเงิน ภายในวันที่ 20 รับเงินสวัสดิการ ฯ พร้อมเงินเดือนผ่านบัญชี 3 วันทำการก่อนสิ้นเดือนในถัดไป ตรวจสอบผลการอนุมัติ ประมวลผลเงินเดือน นอกรอบ (Off-Cycle Run)

2.การมอบอำนาจ อธิการบดี หรือรองอธิการบดีที่ได้รับมอบหมาย ตัดโอนตำแหน่งและอัตราเงินเดือน / ย้ายข้ามส่วนงาน หัวหน้าส่วนงาน หรือรองหัวหน้าส่วนงานที่ได้รับมอบหมาย ตัดโอนตำแหน่งและอัตราเงินเดือน / ย้ายภายในส่วนงาน ลาออกจากราชการ / ลาออกจากงานของบุคลากรในส่วนงาน - 14 -

แผนรองรับปัญหาที่อาจเกิดขึ้นหลัง PY Golive บุคลากร ผู้ปฏิบัติงาน PY ส่วนงาน HR Support Team ตรวจสอบข้อมูล กรณีไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้ แจ้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบระบบงาน PY ของส่วนงาน แจ้ง Support Team รับเรื่องจากส่วนงาน กรณีแก้ไขข้อมูลได้เอง กรณีไม่ต้องขอเบิก เงินสำรองจ่าย ตรวจสอบข้อมูล ดำเนินการแก้ไขข้อมูล/ทำเอกสารที่เกี่ยวข้อง แจ้งส่วนงานให้แก้ไขข้อมูล บุคลากรรับทราบ แจ้งบุคลากรรับทราบ กรณีต้องขอเบิก เงินสำรองจ่าย จบ แจ้งส่วนงานให้แก้ไขข้อมูลและทำเรื่องขอยืมเงินสำรองจ่าย

แผนรองรับปัญหาที่อาจเกิดขึ้นหลัง PY Golive บุคลากรรับเงินเดือนไม่ถูกต้อง ประเภทปัญหา การป้องกันก่อน Golive การดำเนินการหลัง Golive กรณีบุคลากรไม่ได้รับเงินเดือน หรือ ได้รับเงินเดือนไม่ครบ แจ้งส่วนงานตรวจสอบข้อมูล PA กับคำสั่งต่าง ๆให้ครบถ้วนสมบูรณ์ที่สุดก่อนการประมวลผลเงินเดือน ผลการกระทบยอดใน Simulation 1 และ 2 หลังจากได้รับแจ้งปัญหาจากส่วนงาน ดำเนินการตรวจสอบข้อมูลและประสานงานกับส่วนงาน เพื่อให้ส่วนงานจ่ายเงินจากเงินยืมทดรองจ่ายของส่วนงานให้เสร็จสิ้นภายใน 1 วัน กรณีบุคลากรได้รับเงินเดือนเกิน กรณีผู้รับผิดชอบทราบก่อน ให้จัดทำ bank file ใหม่ให้ถูกต้องก่อนส่งธนาคาร ส่วนงานทำหนังสือแจ้งบุคลากรถึงสาเหตุที่ได้รับเงินเดือนเกินและติดตามทวงเงินบุคลากรคืนทันทีที่งานคลังของส่วนงาน

แผนรองรับปัญหาที่อาจเกิดขึ้นหลัง PY Golive 2. บุคลากรรับค่าตอบแทนไม่ถูกต้อง ประเภทปัญหา การป้องกันก่อน Golive การดำเนินการหลัง Golive กรณีบุคลากรไม่ได้รับค่าตอบแทน หรือ ได้รับค่าตอบแทนไม่ครบ แจ้งส่วนงานตรวจสอบข้อมูล PA กับคำสั่งต่าง ๆให้ครบถ้วนสมบูรณ์ที่สุดก่อนการประมวลผลเงินเดือน ผลการกระทบยอดใน Simulation 1 และ 2 - แจ้งให้บุคลากรทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และให้ทำการเบิกจ่ายให้ในเดือนถัดไป กรณีบุคลากรได้รับเงินค่าตอบแทนเกิน กรณีผู้รับผิดชอบทราบก่อน ให้จัดทำ bank file ใหม่ให้ถูกต้องก่อนส่งธนาคาร ส่วนงานทำหนังสือแจ้งบุคลากรถึงสาเหตุที่ได้รับเงินค่าตอบแทนเกินและติดตามทวงเงินบุคลากรคืนทันทีที่งานคลังของส่วนงาน

แผนรองรับปัญหาที่อาจเกิดขึ้นหลัง PY Golive 3. รายการเงินหักต่าง ๆ ของบุคลากรไม่ถูกต้อง ประเภทปัญหา การป้องกันก่อน Golive การดำเนินการหลัง Golive กรณีหักเงินไม่ครบถ้วน / ไม่ได้หักเงิน / หักเงินเกิน แจ้งส่วนงานตรวจสอบข้อมูลกับรายการเงินหักต่าง ๆ จากข้อมูลเดิมหรือจากเอกสารให้ครบถ้วนสมบูรณ์ที่สุดก่อนการประมวลผลเงินเดือน ผลการกระทบยอดใน Simulation 1 และ 2 - แจ้งให้บุคลากรทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และให้บุคลากรติดต่อหน่วยงานที่เป็นเจ้าหนี้เพื่อชำระเงิน / เรียกเงินคืน - บันทึกข้อมูลในระบบให้ถูกต้อง กรณีหักเงินบุคลากรผิดราย ส่วนงานติดต่อหน่วยงานที่เป็นเจ้าหนี้เพื่อนำเงินคืนให้กับบุคลากรที่บุคลากรที่หักผิดราย บุคลากรทีไม่ได้นำส่งเงินให้หน่วยงานเป็นเจ้าหนี้ นำเงินไปชำระกับเจ้าหนี้ -18-

แผนรองรับปัญหาที่อาจเกิดขึ้นหลัง PY Golive 4. บุคลากรจ่ายภาษีสูง ประเภทปัญหา การป้องกันก่อน Golive การดำเนินการหลัง Golive บุคลากรมีเงินได้ ณ เดือนนั้น สูง แจ้งส่วนงานให้ประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรกรอกข้อมูลการลดหย่อนภาษี และสอนส่วนงานบันทึกข้อมูลการลดหย่อยภาษีในระบบตั้งแต่วันที่ 7 พฤศจิกายน 2553 ประมวลผลข้อมูลบุคลากรที่มีการหักภาษีเกิน 10% และแจ้งส่วนงานเพื่อแจ้งบุคลากรทราบ - หลังจากการประมวลผลเงินเดือนและค่าตอบแทน ให้ออกรายงานข้อมูลภาษี เพื่อตรวจสอบว่ามีบุคลากรท่านใดจ่ายภาษีที่สูงผิดปกติ - ตรวจสอบค่าลดหย่อนของบุคลากร พร้อมทั้ง สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมจากบุคลากรว่ามีการแจ้งค่าลดหย่อนครบหรือไม่ - อธิบายถึงสาเหตุว่าเหตุใด บุคลากรมีการจ่ายภาษีที่สูง ฐานคำนวณภาษีของบุคลากร เข้า rate 20 % -19-