วิชา คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความหมายของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ โดย เด็กหญิงนฤมล พรมม่วง เลขที่ 29 ชั้น ม.2/2
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
Software คือ ชุดคำสั่งหรือ ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์.
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
บทที่ 12 การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name Registration)
การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หน่วยความจำ (Memory Unit)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
Surachai Wachirahatthapong
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ
โอฬาริก สุรินต๊ะ CS/MIS
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
อินเตอร์เน็ต INTERNET.
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory
เรื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
คอมพิวเตอร์.
Internet.
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
อธิบายหลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ต โดย.. ครูสาคร หนูอิน.
นาย กตัญญู ใจอารีย์ นาย ณัฐพงศ์ สองทอง ระบบคอมพิวเตอร์
Chapter 3 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
การเขียนเว็บเพ็จด้วยโปรแกรม
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
INTERN ET Internet คือ อะไร ? เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ที่ทำการ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หลายล้านเครื่องกว่า 130 ประเทศทั่วโลกเข้า ด้วยกัน มีบริการต่าง.
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น ครู โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
หน้าที่และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
โรงเรียนสายมิตรเทคโนโคราช
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
บทที่ 8 เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
1. บทนำเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมีจุดเริ่มต้นมาจากเหตุผล ทางการทหาร เนื่องจากในยุค สงครามเย็น เมื่อประมาณ พ. ศ 2510 ระหว่างฝ่ายคอมมิวนิสต์ และฝ่ายเสรี
หน่วยรับเข้า ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ 1.แป้นพิมพ์ (Keyboard) 2.เมาส์
Integrated Network Card
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
นางเชาวลี สมบูรณ์ดำรงกุล
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 Input & Output Devices
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชา คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น

พ.จ.อ.สมคิด เตปินตา ผู้บรรยาย เจ้าหน้าที่วิศวกรรมระบบ แผนกควบคุมระบบ กสท.ศทส.สสท.ทร. โทร : 57812 E-mail :somkid.t@navy.mi.th

คอมพิวเตอร์เบื้องต้น Basic Computer

คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ การดูแลและบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ (Computer) มาจากภาษาละตินว่า “Computare” หมายถึงการนับหรือการคำนวณ “ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เหมือนสมองกลใช้สำหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์ ”

งานที่ใช้คอมพิวเตอร์ งานที่เสี่ยงอันตราย การป้องกันภัยธรรมชาติ การสำรวจ การเกษตร การศึกษา และการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ การคมนาคม และการติดต่อสื่อสาร บริษัท ห้างร้าน และองค์กรต่างๆ ระบบรักษาความปลอดภัย การแพทย์ และสาธารณะสุข งานดนตรี งานศิลปะ

ประเภทของคอมพิวเตอร์ Supercomputer Mainframe Computer Minicomputer Microcomputer

ประเภทของคอมพิวเตอร์ Supercomputer Mainframe Minicomputer Workstation Microcomputer, PC

Supercomputer มีความเร็วและประสิทธิภาพสูงกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดอื่นๆ คำนวณเลขได้หลายล้านตัวในเวลาอันรวดเร็ว มีขนาดใหญ่ ใช้ในงานควบคุมขีปนาวุธ งานควบคุมอากาศ งานประมวลผลภาพทาง การแพทย์

Mainframe มีขนาดใหญ่ ประกอบด้วยตู้ ขนาดใหญ่บรรจุชิ้นส่วนและ อุปกรณ์ต่างๆ ประสิทธิภาพด้อยกว่า ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ เหมาะกับงานที่เป็นศูนย์กลาง และกระจายการใช้งานเป็น จำนวนมาก เช่น ระบบเอทีเอ็ม

Minicomputer ใช้งานได้พร้อมๆกันหลายคน -เครื่องปลายทางต่อเชื่อมได้ ประมวลผลในของหน่วยงานขนาดกลาง-ใหญ่ งานควบคุมผลผลิต งานบัญชีและการเงิน งานออกแบบทางวิศวกรรม

Workstation มีความเร็ว ประสิทธิภาพ และราคา สูงกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ PC โดย ทั่วไป มีจุดเด่นสำหรับงานกราฟฟิก สร้าง รูปภาพ และภาพเคลื่อนไหว สามารถใช้เพื่อเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายได้ สำหรับงานออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ งานควบคุมเครื่องจักร งานจำลองและคำนวณทางวิทยาศาสตร์ ฯ ส่วนใหญ่ใช้ระบบปฏิบัติการ Unix

Microcomputer มีขนาดเล็ก ราคาถูก เป็นที่นิยมง่าย เหมาะสำหรับใช้งานเฉพาะบุคคล เชื่อมต่อในเครือข่ายได้

ไมโครคอมพิวเตอร์ Desktop Computer / PC (Personal Computer) Notebook Computer Plam Computer / Pocket PC

ขนาดและราคา ซูเปอร์ เมนเฟรม มินิ เวิกสเตชั่น ไมโคร ประสิทธิภาพ

การใช้งานคอมพิวเตอร์ รับข้อมูล ประมวลผล แสดงผล เก็บบันทึกข้อมูล

ระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากร (People ware) ข้อมูล (Information)

ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ทำงานประสานกัน เพื่อให้ได้งานตามที่ต้องการ หน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยแสดงข้อมูล หน่วยความจำ

ฮาร์ดแวร์ (Hardware)

ส่วนประกอบของ Hardware หน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผล หน่วยแสดงผล หน่วยความจำหลัก หน่วยความจำสำรอง

ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์

Input Devices

Input Devices อุปกรณ์ที่ใช้ในการรับ หรือส่งข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์โดยอุปกรณ์อินพุตจะแปลงข้อมูลขาเข้าให้เป็นสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ ก่อนที่จะเริ่มประมวลผลข้อมูลนั้น

ชนิดของ Input Devices Typing Devices Pointing Devices Scanning Devices (Source-data Automation) Other Devices

Typing Input Devices

Regular Keyboard

Pointing Devices เป็นอุปกรณ์การชี้เหมาะกับโปรแกรมประเภท Graphical User Interface software เช่น MS-Windows มีไว้เพื่อใช้ในการควบคุม Cursor หรือ Pointer

Mechanical Mouse แบบลูกกลิ้ง Pointing Devices Cordless Mouse เมาส์ไร้สาย Mechanical Mouse แบบลูกกลิ้ง Optical Mouse ใช้แสงในการ ค้นหาตำแหน่ง

Pointing Devices Trackball (Upside down Mouse)

Pointing Stick Touch Pad

Game Pad Joystick Wheels

Flatbed Scanner (แบบแท่นนอน) Scanning Devices Flatbed Scanner (แบบแท่นนอน)

Sheet fed Scanner (แบบเลื่อนกระดาษ) Scanning Devices Sheet fed Scanner (แบบเลื่อนกระดาษ)

Handheld Barcode Reader Scanning Devices Handheld Barcode Reader

Other Kinds of Input Devices Video เป็นอุปกรณ์ที่นำภาพเคลื่อนไหวต่อเนื่องเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์

Microphone (Input for Sound) Other Kinds of Input Devices Microphone (Input for Sound) Analog Sound Signals Digital Audio Output [electrical signals] (ex. 11100011) to computer Analog Signals are Digitized

Wireless Pen & Graphic Tablet Other Kinds of Input Devices Wireless Pen & Graphic Tablet เป็นอุปกรณ์ที่นำข้อมูลจากสิ่งที่ผู้ใช้ทำลงบน Tablet เข้าเครื่องคอมพิวเตอร์โดยสามารถวาดเป็นภาพต่างๆ ได้

Other Kinds of Input Devices LCD Pen Tablet

Output Devices อุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์ หรือส่งข้อมูลที่ได้จากการประมวลผลให้กับผู้ใช้ โดยอุปกรณ์เอาท์พุตจะแปลงผลลัพธ์ที่อยู่ในรูปสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ให้มีรูปแบบที่ผู้ใช้เข้าใจได้

ประเภทของ Output Devices Soft Copy เป็นข้อมูล/ ผลลัพธ์ที่ไม่ถาวร จะปรากฏแค่ชั่วคราว (Temporary) เช่น ผลลัพธ์ที่ปรากฏบนจอภาพ Hard Copy เป็นข้อมูล/ ผลลัพธ์ที่ปรากฏถาวร เช่น ผลลัพธ์ที่ถูก พิมพ์ลงบนกระดาษ

Soft Copy Output ประเภทของ Monitor Cathode Ray Tube (CRT) Flat-Panel Display

Soft Copy Output Flat Monitor Liquid Crystal Display (LCD) ไม่เหมือน TV จอแบนที่โฆษณา

Soft Copy Output Video Projector สำหรับหลายคนไว้ดูพร้อมกัน

Soft Copy Output Speakers

Hard Copy Output Printers คุณภาพของเครื่องพิมพ์วัดเป็น Dot Per Inch (DPI) ความเร็วของเครื่องพิมพ์วัดเป็น - Line Per Minute (LPM) หรือ - Page Per Minute (PPM)

Hard Copy Output Types of Printers Impact Printer Non-Impact Printer

Impact Printer คุณสมบัติของ Impact Printer มีส่วนใดส่วนหนึ่งของเครื่องพิมพ์ (หัวพิมพ์)สัมผัสกระดาษ เครื่องพิมพ์จะมีเสียงดัง สามารถสำเนาไว้ได้โดยการใช้ Carbon

Impact Printer Dot-Matrix Printer ราคาถูก ใช้เข็มพิมพ์เป็น จุดลงบนผ้าหมึก แล้วกระทบระดาษ

Non-Impact Printer Non-Impact Printer เครื่องพิมพ์ที่ไม่มีเสียงเพราะไม่มีส่วนใดของเครื่องพิมพ์ สัมผัสกระดาษ (ไม่มีการใช้หัวพิมพ์ตีลงบนกระดาษ)

Non-Impact Printer Inkjet Printer ใช้การสเปรย์สีน้ำลงบนกระดาษ

Non-Impact Printer Laser Printer ใช้แสงทำให้กระดาษร้อนและเมื่อกระดาษผ่านผงหมึก หมึกจะหลอมติดออกมา

Non-Impact Printer Plotter เครื่องพิมพ์ขนาดใหญ่ที่ออกแบบมาสำหรับงานพิมพ์กราฟิกที่ซับซ้อน เช่น พิมพ์เขียว ผังเมือง แผนที่

Multi-Purpose Devices

Touch Screen Monitor สามารถเป็นได้ทั้ง Input & Output devices

Digital Camera Digital Camera

Memory & Storage

Memory & Storage ประเภทของหน่วยความจำในคอมพิวเตอร์ หน่วยความจำหลัก (Main Memory) เป็นหน่วยความจำที่ใช้ติดต่อกับ CPU ดังนั้นการอ่านหรือเขียนข้อมูลลงในหน่วยความจำหลักจะต้องทำได้รวดเร็ว เช่น RAM, ROM

Memory & Storage ประเภทของหน่วยความจำในคอมพิวเตอร์ หน่วยความจำสำรอง เป็นส่วนที่ทำงานติดต่ออยู่กับหน่วยความจำหลัก สามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่าหน่วยความจำหลัก ราคาต่อหน่วยจะถูกกว่าหน่วยความจำหลัก แต่จะทำงานได้ช้ากว่าหน่วยความจำหลัก เช่น Hard disk, Diskette, Tape

Memory & Storage Main Memory Main Memory มี 2 แบบ Read-Only Memory (ROM) Random Access Memory (RAM) --> Read/Write Memory

ROM (Read-Only Memory) Memory & Storage ROM (Read-Only Memory) เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บชุดคำสั่ง และข้อมูลถาวรต่างๆที่จะถูกใช้งานเมื่อเปิดเครื่อง โดยชุดคำสั่งดังกล่าวเรียกว่า “Bootstrap Loader” ข้อมูลที่บรรจุใน ROM สามารถอ่านและใช้งานได้ แต่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ สามารถเก็บชุดคำสั่งแบบถาวร แม้ไม่มีไฟไปหล่อเลี้ยง (Nonvolatile) ROM ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ถูกต้องตอนเริ่มต้นบูทเครื่อง ตั้งแต่ตรวจสอบหน่วยความจำ อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์

Memory & Storage Note :- “Bootstrap Loader” จะเก็บชุดคำสั่งที่ใช้ในการตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์ (POST) ในคอมพิวเตอร์ รวมทั้งทำหน้าที่ โอนถ่ายระบบปฏิบัติการ (OS) เข้าสู่หน่วยความจำหลัก เพื่อเตรียมให้คอมพิวเตอร์พร้อมสำหรับการใช้งาน

POST (Power On Self Test) Memory & Storage POST (Power On Self Test)

POST (Power On Self Test) Memory & Storage POST (Power On Self Test)

POST (Power On Self Test) Memory & Storage POST (Power On Self Test)

RAM (Random-access Memory) Memory & Storage RAM (Random-access Memory) เป็นหน่วยความจำที่ใช้ในการเก็บชุดคำสั่ง ข้อมูลที่ต้องการการประมวลผล หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ต้องมีไฟฟ้าหล่อเลี้ยงจึงเก็บข้อมูลอยู่ ถ้าขาดไฟฟ้า ข้อมูลภายในจะสูญหาย (Volatile) สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลใน RAM ได้

Memory & Storage ประเภทของ RAM Static RAM (SRAM) ราคาแพง ความเร็วสูงกว่า เนื่องจากมีรอบของการ อ่าน และเขียนข้อมูลที่สั้นกว่า รวมทั้งใช้กระแสไฟสูงกว่าด้วย Dynamic RAM (DRAM) ราคาถูก ใช้ไฟต่ำกว่า ความเร็วต่ำกว่า เพราะต้องคอยลบข้อมูลที่ไม่ใช้ แต่จุข้อมูลได้มากกว่า

Memory & Storage RAM (Random-access Memory)

Memory & Storage More RAM = Better Performance!

Memory & Storage ประเภทของ Storage Devices ระบบแม่เหล็ก (Magnetic Storage Devices) ผิวหน้าของอุปกรณ์ในระบบแบบนี้ จะถูกฉาบไว้ ด้วยสารที่ไวต่อการเหนี่ยวนำด้วยแม่เหล็ก ระบบแสง (Optical discs Storage Devices) ใช้เทคโนโลยีของแสงในการบันทึกหรือการอ่าน ข้อมูล

Magnetic Storage Devices Memory & Storage Magnetic Storage Devices Magnetic tape เช่น Tape Backup Diskettes เช่น แผ่นดิสก์ 3.5” Hard disks แบบเคลื่อนย้ายไม่ได้ (Fixed Hard disk) แบบเคลื่อนย้ายได้ (Removable Hard disk)

Central Processing Unit (CPU) หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยที่ทำการประมวลผล ข้อมูลและคำสั่งต่างๆ

CPU องค์ประกอบของ CPU Control Unit : หน่วยควบคุม Arithmetic and Logic Unit : หน่วยคำนวณและตรรก Register : อุปกรณ์บันทึกข้อมูลขนาดเล็ก

Control Unit (หน่วยควบคุม) CPU Control Unit (หน่วยควบคุม) รับชุดคำสั่งจาก RAM ทำการอ่านและแปลคำสั่ง ควบคุมการทำงานของทุกอุปกรณ์ภายในระบบคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะ ALU และ register เปรียบเหมือนกับจุดศูนย์กลางของคอมพิวเตอร์ ควบคุมการไหลของโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่ RAM และออกจาก RAM

Arithmetic and Logic Unit (หน่วยคำนวณและตรรก) CPU Arithmetic and Logic Unit (หน่วยคำนวณและตรรก) หน่วยปฏิบัติการในการหาผลลัพธ์ทางด้านคณิตศาสตร์ (เช่น บวก ลบ คูณ หาร) และผลลัพธ์ทางด้านตรรกศาสตร์ (เช่น มากกว่า น้อยกว่า เท่ากับ)

CPU Register เป็นหน่วยความจำชั่วคราวที่ ALU ใช้พักคำสั่งหรือพักข้อมูลเพื่อนำมาประมวลผล อุปกรณ์บันทึกข้อมูลขนาดเล็ก จะทำหน้าที่เก็บ ข้อมูลที่กำลังประมวลผล ณ ขณะนั้น Register เป็นส่วนหนึ่งของ ALU มีความเร็วสูงที่ประกอบอยู่ในตัว CPU

Hard disk

การแบ่งพื้นที่บนจานแม่เหล็กในลักษณะวงกลม (เหมือนลู่วิ่ง) Hard disk การแบ่งพื้นที่บนจานแม่เหล็กในลักษณะวงกลม (เหมือนลู่วิ่ง) Tracks

Sector การแบ่งพื้นที่ในแต่ละ Track ออกเป็นส่วนๆ (เหมือนชิ้นขนมเค้ก) Hard disk Sector การแบ่งพื้นที่ในแต่ละ Track ออกเป็นส่วนๆ (เหมือนชิ้นขนมเค้ก)

Format เป็นการจัดอนุภาคของแม่เหล็ก เพื่อให้แผ่นพร้อมที่จะใช้งาน ระหว่างการ Format ตัว drive จะทำการสร้าง Track และทำการแบ่งออกเป็น Sector การ Format ข้อมูลในแผ่นจะถูกลบทั้งหมด

Format Formatted Disk

Optical Storage Devices ได้รับความนิยมรองจากเทคโนโลยีที่ใช้แม่เหล็ก ใช้แสงในการอ่าน-เขียนข้อมูล มีความแม่นยำในการอ่าน-เขียนข้อมูล ข้อดีของ Optical Disc มีความจุมากเป็นพิเศษ (Capacity) ราคาต่อหน่วยถูก (Inexpensive) ขนาดเล็กกระทัดรัด (Compact) อายุการใช้งานและความทนทาน (Durable)

ประเภทของ Optical Disc Optical Storage Devices ประเภทของ Optical Disc CD-ROM CD-ROM -700MB CD-R (CD Recordable) สามารถบันทึกข้อมูล ได้เพียงครั้งเดียว CD-RW (CD ReWritable) สามารถบันทึกข้อมูลซ้ำได้หลายครั้ง DVD-ROM 4.7-17 GB CD-ROM Drive

Optical Storage Devices DVD แผ่นด้านเดียว/ชั้นเดียว (1 side / 1 layer) เก็บข้อมูลได้ 4.7 จิกะไบต์ แผ่นด้านเดียว/สองชั้น (1 side / 2 layer) เก็บข้อมูลได้ 8.5 จิกะไบต์ แผ่นสองด้าน/ชั้นเดียว (2 side / 1 layer) เก็บข้อมูลได้ 9.4 จิกะไบต์ แผ่นสองด้าน/สองชั้น (2 side / 2 layer) เก็บข้อมูลได้ 17 จิกะไบต์

DVD-ROM DVD-ROM Drive

การดูแลรักษาแผ่น CD ไม่วางของหนักบนแผ่นซีดี ไม่วางแผ่นซีดีไว้ในที่ที่มีแสงแดดส่องถึง ไม่วางแผ่นซีดีใกล้วัตถุที่มีสนามแม่เหล็ก เช่น ลำโพง จอคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ หรือเครื่องคิดเลข

การดูแลรักษาแผ่น CD ระมัดระวังไม่ให้ผิวหน้าที่ใช้บันทึกข้อมูลของแผ่นดิสก์สัมผัสกับของแข็ง ไม่ควรสูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่ม หรือทานอาหารใกล้แผ่นซีดี ไม่วางแผ่นซีดีซ้อนกัน ไม่เขียนข้อความใดๆ บนด้านที่บันทึกข้อมูล การถือแผ่นซีดีให้จับที่ขอบของซีดี

เปรียบเทียบหน่วยความจำประเภทต่างๆ

อายุการใช้งานของสื่อต่างๆ Guarantee Potential Magnetic tape 2-5 yrs. 20 yrs. Magnetic disk 5–10 yrs. 20 yrs. Optical disc 30 yrs. 50 yrs.

ข้อดีของการใช้ Flash Memory New Technologies Flash Memory Compact Flash Memory Stick Secure Digital (SD) / MultiMediaCard (MMC) ข้อดีของการใช้ Flash Memory เสียงเงียบกว่า Hard Disk มีขนาดเล็กว่า Hard Disk ใช้การเวลาในการเข้าถึงข้อมูลน้อยกว่า มีน้ำหนักเบากว่า

หน่วยความจุของหน่วยความจำ

ชุดคำสั่ง ที่ใช้ในการสั่งงานให้อุปกรณ์ต่างๆ ทำงานตามที่ต้องการ ซอฟต์แวร์ (Software) ชุดคำสั่ง ที่ใช้ในการสั่งงานให้อุปกรณ์ต่างๆ ทำงานตามที่ต้องการ ประเภทของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ประยุกต์

ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) สร้างขึ้นสำหรับการจัดการระบบ และการดำเนินงานพื้นฐานต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็น 2 ชนิด ระบบปฏิบัติการ (Operating System หรือ OS) โปรแกรมที่ใช้ดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เช่น Dos, Windows, OS2, Unix, Linux ตัวแปลภาษา ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง ภาษาระดับสูงเช่น ภาษา C, Pascal

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ใช้กับงานด้านต่างๆ ตามความต้องการ ของผู้ใช้ แบ่งเป็น 2 ชนิด ซอฟต์แวร์สำเร็จ ใช้กับงานทั่วๆ ไปไม่เฉพาะเจาะจง เช่น Word, Excel ซอฟต์แวร์ใช้เฉพาะ เขียนโดยโปรแกรมเมอร์ ใช้สำหรับงานที่เฉพาะเจาะจง เช่น โปรแกรมด้านบัญชี การฝากถอนเงิน

บุคคลทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ บุคลากร (Peopleware) บุคคลทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (User) เจ้าหน้าที่ระบบคอมพิวเตอร์ Programmer System Analyst ผู้ขายคอมพิวเตอร์ ที่ปรึกษาคอมพิวเตอร์

Data / Information Data ข้อมูลดิบที่อาจอยู่ในรูปตัวเลข ตัวอักษร ที่แสดงค่าความจริงบางอย่าง เกี่ยวกับสิ่งที่เราสนใจ Information ผลลัพธ์ที่เกิดจากการประมวลผลข้อมูลดิบ (Data) เพื่อจัดให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสม และสามารถสื่อถึงความหมายบางอย่างได้

Data / Information Output Information Input Data Process คะแนนรวม = 5+5+7+7+9+9 = 42 คะแนนรวม = 42 คะแนน 5 7 9 7 9 5 คะแนนเฉลี่ย = (5+5+7+7+9+9) / 6 = 7 คะแนนเฉลี่ย = 7 คะแนน Quiz 6 ครั้ง ครั้งละ 10 คะแนน

คอมพิวเตอร์และสุขภาพ การเลือกเก้าอี้ เก้าอี้ที่ใช้ควรมีลักษณะเหมาะสมกับสรีระของผู้ใช้แต่ละคน โดยพื้นฐานแล้วควรสามารถ ปรับความสูงได้, เข้ารูปกับหลัง, และมีที่วางแขน เพื่อป้องกันอาการเมื่อยล้า เมื่อใช้เป็นเวลานาน

คอมพิวเตอร์และสุขภาพ อาการปวดเมื่อยจากการทำงานต่อเนื่องเป็นเวลานาน การทำงานต่อเนื่องเป็นเวลานาน ทำให้ผู้ใช้มีอาการ ปวดเมื่อย (carpal tunnel syndrome) เช่นการพิมพ์หรือใช้เมาส์เป็นเวลานาน ทำให้เกิดอาการปวดนิ้ว/ข้อมือ ป้องกันและแก้ไขโดยใช้อุปกรณ์รองข้อมือ

คอมพิวเตอร์และสุขภาพ การป้องกัน ปวดเมื่อยสายตาจากการใช้คอมพิวเตอร์ การมองภาพจากคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานๆ ทำให้เกิดการปวดสายตาได้ ควรป้องกันดังนี้ หลีกเลี่ยงการเพ่งที่จอภาพนานๆ ระยะระหว่างจอภาพกับสายตาควรประมาณ 2 - 2.5 ฟุต วางตำแหน่งจอภาพให้เหมาะสม ไม่ควรให้มีแสงจ้า, แสดงกระทบมากเกินไป หรืออาจใช้แผ่นป้องกันแสงสะท้อนได้ ควรใช้จอภาพที่มีขนาดเหมาะสม และมีคุณสมบัติของจอ dot pitch = 0.28mm, Refresh rate อย่างน้อย 72 Hz

คอมพิวเตอร์และสุขภาพ สนามแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic fields) จอภาพชนิด CRT ที่ใช้การยิงแสงอิเลคตรอนมาที่จอภาพ อาจมีการแผ่รังสีออกมา ซึ่งอาจมีผลกระทบทันทีกับผู้ใช้ บางคน เช่นอาจปวดหัวหรือในระยะยาวอาจเป็นสาเหตุของโรคมะเร็ง ซึ่งควรป้องกันไว้ก่อนดังนี้: หยุดการใช้งานเป็นระยะๆ, นั่งให้ห่างจากจอภาพ, ใช้จอภาพที่ผ่านมาตรฐาน (TCO95 MPR II), หรือเปลี่ยนมาใช้ LCD, ใช้แผ่นกรองแสง

ไวรัสคอมพิวเตอร์ Virus เป็นกลุ่มของคำสั่ง ที่ถูกสร้างขึ้นมาด้วยเหตุผลหลายประการ เช่นรบกวนการทำงาน ก่อให้เกิดความรำคาญ เปลี่ยนแปลงข้อมูล ทำให้ข้อมูลเสียหาย หรือทำลายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โดยส่วนใหญ่มักติดต่อโดยที่ผู้ใช้ไม่ทราบ Worm (เวิร์ม)เป็นไวรัสที่สามารถทำงานได้โดยตัวเอง Virus เป็นกลุ่มคำสั่งที่ติดหรือแฝงกับสิ่งอื่นๆ

ไวรัสคอมพิวเตอร์ 1. Boot Sector Virus 2. File Virus Type of Virus 1. Boot Sector Virus 2. File Virus 3. Trojan Horse Virus 4. Macro Virus 5. Email Virus

ไวรัสคอมพิวเตอร์ Boot Sector Virus เป็นไวรัสที่แฝงตัวในบูตเซกเตอร์ของแผ่นดิสก์ ทุกครั้งที่มีการใช้แผ่นดิสก์จะต้องมีการอ่านข้อมูลใน บูตเซกเตอร์ทุกครั้ง ทำให้โอกาสติดไวรัสได้ง่าย ต.ย. Stoned, Angelina, Beijing

File Virus ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นไวรัสที่ติดกับไฟล์ข้อมูลหรือไฟล์โปรแกรมต่างๆ โดยมากจะติดกับๆไฟล์ที่มักเรียกใช้บ่อย เช่น ไฟล์นามสกุล .exe, .dll, .com ตัวอย่าง Jerusalem, Die Hard II

Trojan Horse Virus ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นไวรัสที่แฝงมากับไฟล์อื่นๆ ที่ดูแล้วไม่น่าจะมีอันตรายใดๆ เช่น เกมส์ โปรแกรมฟรีแวร์หรือแชร์แวร์เมื่อใช้ไประยะเวลาหนึ่งแล้วไวรัสก็จะแสดงตัวออกมา ซึ่งอาจทำลายระบบคอมพิวเตอร์ของเรา

Macro Virus ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นไวรัสที่เขียนขึ้นมาจากคำสั่งภาษามาโคร ที่มีอยู่ในโปรแกรมประมวลผลคำ, หรือโปรแกรมในชุดไมโครซอพต์ออฟฟิส เมื่อเราเปิดเอกสารที่มีไวรัส ไวรัสก็จะแพร่กระจายไปยังไฟล์อื่น ต.ย. Concept, Bandung

ไวรัสคอมพิวเตอร์ E-mail virus ปัจจุบันมีการใช้อีเมล์ในการสื่อสารกันมาก แม้เพียงเราเข้าไปดูรายชื่อของจดหมายก็ติดไวรัสได้แล้ว ซึ่งอาจมีไวรัสแพร่กระจายมาด้วย ความร้ายแรงก็อยู่ที่ปริมาณอีเมล์ที่แพร่กระจายไปจนอาจทำให้เครื่อง Server ไม่สามารถทำงานได้ ต.ย. Love Bug, Anna Kunicova

การกระตุ้นการทำงานของไวรัส ไวรัสคอมพิวเตอร์ การกระตุ้นการทำงานของไวรัส การเรียกใช้โปรแกรมหรือเข้าใช้ข้อมูลที่ติดไวรัส เมื่อทำตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ (Logic bomb) เช่น เงื่อนไขหากผู้ใช้ Save ข้อมูลไวรัสก็จะทำงาน เมื่อถึงเวลาที่กำหนดไว้ (Time Bomb) เช่น Michelangelo จะทำงานเมื่อถึงวันที่ 6 มีนาคม

อาการที่เครื่องคอมพิวเตอร์ติดไวรัส ไวรัสคอมพิวเตอร์ อาการที่เครื่องคอมพิวเตอร์ติดไวรัส เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานช้าลง ใช้เวลานานผิดปกติในการเรียกโปรแกรมขึ้นมาทำงาน มีตัวหนังสือประหลาดขึ้นในหน้าจอ เครื่องทำงานบางอย่างเองโดยที่ไม่ได้สั่ง ไฟล์บางไฟล์มีขนาดใหญ่ขึ้นเอง มีไฟล์ชื่อแปลก ๆ ในเครื่องซึ่งผู้ใช้ไม่ได้สร้างขึ้น

อาการที่เครื่องคอมพิวเตอร์ติดไวรัส (ต่อ) ไวรัสคอมพิวเตอร์ อาการที่เครื่องคอมพิวเตอร์ติดไวรัส (ต่อ) มีการเปิด Share ข้อมูล โดยที่ผู้ใช้ไม่ได้สั่ง เครื่องคอมพิวเตอร์หยุดทำงานบ่อย ๆ โดยไม่ทราบสาเหตุ ข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ถูกลบโดยที่ผู้ใช้ไม่ได้สั่ง แป้นพิมพ์ทำงานผิดปกติหรือไม่ทำงานเลย

ไวรัสคอมพิวเตอร์ การป้องกันไวรัส ติดตั้งโปรแกรมต่อต้านไวรัส และ update ข้อมูลเป็นประจำ สแกนแผ่นดิสก์ที่ได้มาใหม่ทุกแผ่นก่อนการใช้งาน อย่าเปิดไฟล์ใด ๆ ที่มาพร้อมกับ e-mail ซึ่งส่งมาจากบุคคลที่ไม่รู้จักหรือไม่แน่ใจว่าเป็น e-mail จากคนที่รู้จักจริงหรือไม่ ลบจดหมายลูกโซ่และ e-mail ขยะทิ้งทันทีที่ได้รับ ไม่ควรดาวน์โหลดไฟล์ข้อมูลใด ๆ จากคนแปลกหน้าหรือเว็บไซด์แปลก หากจำเป็นควรสแกนข้อมูลนั้นก่อนเปิดใช้งาน

ไวรัสคอมพิวเตอร์ การป้องกันไวรัส Backup ข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ ระวังการอนุญาตให้เพื่อนหรือบุคคลอื่นใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน

โปรแกรมป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์ NOD32 McAfee Associates Norton Anti Virus Panda

วิธีการแก้ปัญหาอาการเสียเบื้องต้น เครื่องคอมพิวเตอร์เปิดไม่ได้ ตรวจสอบสายไฟที่ตัวเครื่องว่าเสียบไว้แน่นหรือไม่ ตรวจสอบว่าไฟดับหรือไม่ Spy Ware ด้วย Ad Aware Spy ware หรือโปรแกรมสายลับ โปรแกรมที่เสมือนมีโทษ และคุณ คละเคล้ารวมกันอยู่ในโปรแกรมเดียวกัน เนื่องเพราะโปรแกรมจำพวกนี้จะดึงข้อมูลต่างๆ ที่อยู่ในคอมพิวเตอร์ของเรา ส่งไปยังบริษัทต้นทาง (บริษัทแม่) ผ่านทางเว็บไซต์ อาทิเช่น ข้อมูลที่เกี่ยวกับเวลาที่เราใช้อินเทอร์เน็ต เว็บที่เข้าไปดูบ่อยๆ เป็นต้น ถือได้ว่าเป็นภัยอย่างหนึ่งในการใช้งานระบบเครือข่าย ไม่ว่าจะเป็นเครือข่ายส่วนบุคคล หรือเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เนื่องจากจะทำให้สูญเสียการเป็น ส่วนบุคคล หรือความปลอดภัยของข้อมูล อาจทำให้คอมพิวเตอร์เกิดอาการแฮงก์ เปลืองหน่วยความจำ หรือเปิดโปรแกรมบางตัวไม่ได้ ซอฟต์แวร์ป้องกัน Spy ware ชื่อ Ad Aware SE นับเป็นตัวเลือกที่ดี เนื่องจาก “ฟรี” และมีความสามารถที่โดดเด่นในการตรวจสอบ และกำจัด Spy ware ได้เป็นอย่างดี

วิธีการแก้ปัญหาอาการเสียเบื้องต้น จอภาพเปิดไม่ได้ ตรวจสอบสายไฟที่ CPU และสายไฟที่จอคอมพิวเตอร์ว่าเสียบไว้แน่นหรือไม่ ตรวจสอบว่าเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์และกดปุ่มเปิดหน้าจอคอมพิวเตอร์แล้วหรือไม่ ตรวจสอบว่าไฟดับหรือไม่ ตรวจสอบสายสัญญาณระหว่างตัวเครื่องกับจอภาพว่าต่อกันไว้แล้วหรือยัง และถ้าต่อสายไว้แล้วควรตรวจดูว่าเสียบแน่นหรือไม่

วิธีการแก้ปัญหาอาการเสียเบื้องต้น Drive CD ใช้งานไม่ได้ ตรวจสอบว่าใส่แผ่นซีดีถูกต้องหรือไม่

วิธีการแก้ปัญหาอาการเสียเบื้องต้น Drive CD ใช้งานไม่ได้ ตรวจสอบว่าแผ่นซีดีเป็นรอยหรือไม่ ถ้าเป็นรอยคราบไขมันควรใช้ผ้าสะอาดเช็ด แต่ถ้าเป็นรอยขูดขีดแสดงว่าแผ่นเสียไม่สามารถเปิดอ่านได้

วิธีการแก้ปัญหาอาการเสียเบื้องต้น Drive CD ใช้งานไม่ได้ ตรวจสอบว่าแผ่น CD เสียหรือไม่ โดยการนำแผ่น CD นั้น ไปทดลองเปิดกับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ตรวจสอบเบื้องต้นว่า Drive CD เสียหรือไม่ โดยการนำแผ่น CD หลาย ๆ แผ่นมาทดลองเปิดกับ Drive CD นั้น

การดูแลรักษา ความร้อน พัดลมระบายความร้อนทุกตัวในระบบ ต้องอยู่ในสภาพดี ใช้เพาเวอร์ซัพพลาย ในขนาดที่ถูกต้อง ใช้งานเครื่องในย่านอุณหภูมิที่ปลอดภัย อย่าตั้งอยู่ในบริเวณที่มีแสงแดดส่องถึงเป็นเวลานานๆ

การดูแลรักษา ฝุ่นผง ควรทำความสะอาดภายในเครื่องทุก 6 เดือน หรือทุกครั้งที่ถอดฝาครอบ ตัวถัง วงจรภายในให้ใช้ลมเป่าและใช้แปรงขนอ่อนๆ ปัดฝุ่นออก อย่าสูบบุหรี่ใกล้เครื่องคอมพิวเตอร์

การดูแลรักษา แม่เหล็ก โยกย้ายอุปกรณ์ที่มีกำลังแม่เหล็กมากๆ ให้ห่าง แม่เหล็กติดกระดาษบันทึกบนตู้เก็บแฟ้ม ไขควงหัวแม่เหล็ก ลำโพง UPS ฝุ่นผง เป็นที่ทราบกันดีว่าในอากาศมีฝุ่นผงกระจัดกระจายอยู่ในทุกๆ ที่ ฝุ่นผงที่เกาะติดอยู่บนแผงวงจรของคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่เสมือนฉนวนป้องกันความร้อน ทำให้ความร้อนที่เกิดขึ้นในระบบ ไม่สามารถระบายออกสู่สภาพแวดล้อมภายนอก นอกจากนี้อาจไปอุดตันช่องระบายอากาศของเพาเวอร์ซัพพลายหรือฮาร์ดดิสค์ หรืออาจเข้าไปอยู่ระหว่างแผ่นดิสค์กับหัวอ่าน ทำให้แผ่นดิสค์หรือหัวอ่านเกิดความเสียหายได้ ดังนั้น

Internet ฝุ่นผง เป็นที่ทราบกันดีว่าในอากาศมีฝุ่นผงกระจัดกระจายอยู่ในทุกๆ ที่ ฝุ่นผงที่เกาะติดอยู่บนแผงวงจรของคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่เสมือนฉนวนป้องกันความร้อน ทำให้ความร้อนที่เกิดขึ้นในระบบ ไม่สามารถระบายออกสู่สภาพแวดล้อมภายนอก นอกจากนี้อาจไปอุดตันช่องระบายอากาศของเพาเวอร์ซัพพลายหรือฮาร์ดดิสค์ หรืออาจเข้าไปอยู่ระหว่างแผ่นดิสค์กับหัวอ่าน ทำให้แผ่นดิสค์หรือหัวอ่านเกิดความเสียหายได้ ดังนั้น

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต Internet ย่อมาจาก Inter Connection Network เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลายๆ เครือข่ายที่มีการเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน โดยที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะสามารถเชื่อมต่อถึงกันได้ทั่วโลก

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ LAN : Local Area Network ระบบเครือข่ายขนาดเล็กที่อยู่ในองค์กร MAN : Metropolitan Area Network เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่มากจะมีขนาดครอบคลุมเมืองหรือบริเวณมหาวิทยาลัย WAN : Wide Area Network ระบบเครือข่ายขนาดใหญ่กว่า LAN อาจเป็นเครือข่ายขององค์กรเดียวกันที่สาขาหลายสาขา Internet : Cyberspace เป็นเครือข่ายของหลายๆ องค์กร และของหลายบุคคลเชื่อมโยงกัน

สิ่งที่ควรรู้ในอินเตอร์เน็ต TCP/IP : ภาษาสื่อสารหลักในระบบอินเตอร์เน็ต (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) IP Address DNS (Domain Name System) URL (Unitform Resource Locator)

TCP/IP ภาษาสื่อสารหลัก ใน ระบบอินเตอร์เน็ต

IP Address หมายเลขประจำเครื่อง สำหรับอ้างถึงเมื่อมีการติดต่อสื่อสาร แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ๆละ 8 Bit รวม 32 Bit ในแต่ละส่วนจะคั้นด้วยจุด (Dot) ตัวอย่าง : 10.106.0.105

Domain Name System (DNS) เป็นชื่อที่ใช้แทน IP Address เพื่อให้จำง่าย มีรูปแบบ 2 รูปแบบ แบบ 2 ระดับ เช่น yahoo.com hotmail.com แบบ 3 ระดับ เช่น navy.mi.th ku.ac.th

ชื่อองค์กร com/co : Commercial organization เช่น gsmadvance.com , dtac.co.th edu/ac : Education organization เช่น chula.ac.th gov/go : Government organization เช่น thaigov.go.th , nasa.gov mil/mi : Military organization เช่น navy.mi.th net : Network organization เช่น php.net org/or : Non-commercial organizatin เช่น nectec.or.th , ipthailand.org

ชื่อประเทศ au ออสเตรเลีย in อินเดีย dk เดนมาร์ก fr ฝรั่งเศส it อิตาลี ca แคนาดา th ไทย jp ญี่ปุ่น tw ไต้หวัน uk อังกฤษ สำหรับ USA ไม่ต้องใส่ส่วนขยายนี้

โปรโตคอล://ชื่อโฮสต์.ชื่อโดเมน/ชื่อไฟล์ Uniform Resource Locator (URL) โปรโตคอล://ชื่อโฮสต์.ชื่อโดเมน/ชื่อไฟล์ โปรโตคอล http ใช้กับบริการ www ftp ใช้กับบริการ FTP ชื่อ Host คือชื่อเครื่องที่ให้บริการ (Server) ชื่อ Domain เป็นชื่อที่ใช้แทน IP Address ชื่อ File เป็นระบุชื่อและตำแหน่งไฟล์

บริการในอินเตอร์เน็ต World Wide Web : ข้อมูลมัลติมีเดีย E-mail : จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ FTP : บริการรับส่งไฟล์ Telnet : บริการสื่อสารระหว่าง เครื่อง บริการค้นหาข้อมูล

บริการในอินเตอร์เน็ตกองทัพเรือ บริการระบบสมาชิกอินเตอร์เน็ต ทร. 1. Proxy (WWW) 2. Modem 3. E-mail (web mail,pop3) บริการระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์

World Wide Web (www) www (world wide web) ?? เป็นแหล่งเก็บข้อมูลในลักษณะข้อความ ภาพ และ เสียง ซึ่งมีรูปแบบการนำเสนอที่เรียกว่า Web pages โดยข้อมูลในแต่ละส่วนสามารถเชื่อมโยง (Link) ไป ยังแหล่งข้อมูลส่วนอื่นได้

Browser โปรแกรม browser ที่ใช้สำหรับใช้บริการ www Internet Explorer (IE) Netscape Mozila Firefox Avant Browser Opera

info.navy.mi.th

www.navy.mi.th

การใช้งาน Proxy เป็นตัวแทนในการติดต่อระหว่าง browser กับ website ต่างๆ Cache เก็บประวัติการใช้งาน คัดกรอง website คัดกรองเครื่องที่จะให้ใช้งาน

Proxy กองทัพเรือ LAN / modem ทร. proxy.navy.mi.th / port 80, 8080 ISP ,ADSL

การตั้งค่า Proxy Tools Internet Options Connections เลือกเมนู

การตั้งค่า Proxy สำหรับระบบ LAN Address : proxy.navy.mi.th Port : 80

การตั้งค่า Proxy สำหรับระบบ Modem Address : proxy.navy.mi.th Port : 80

การสมัครสมาชิก Proxy กองทัพเรือ http://radius1.navy.mi.th หรือ http://info.navy.mi.th>บริการข้อมูลสารสนเทศ

การตั้งค่า Modem หมายเลขโทรศัพท์สำหรับการใช้งาน modem ทร. กทม.และปริมณฑล 0247(53151),0247(53152) สัตหีบ (หมุนเข้า ศูนย์ฯ กร.) 74301

ข้อกำหนดของการใช้งาน Modem ครั้งละ 2 ชม. 1 account / 1 คู่สาย ระยะเวลาตามชั้นยศ / เดือน คู่สายโทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ ISP MODEM

การสมัครสมาชิก Modem กองทัพเรือ http://radius2.navy.mi.th/home.php

Electronic Mail เรียกย่อว่า E-Mail (อีเมล์) การรับ-ส่งข้อความ (รวมทั้งรูปภาพ เสียง วิดีโอ) ในลักษณะจดหมาย โดยใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นเส้นทางในการรับ - ส่ง ใช้เวลาในการรับ/ส่งไม่นาน (หน่วยเป็นนาที) การใช้ E-Mail จะต้องมี E-Mail Address เพื่อระบุปลายทางในการรับ-ส่ง ลักษณะเดียวกับชื่อ- ที่อยู่ในการส่งจดหมายปกติ เช่น tharapun.a@navy.mi.th เป็นต้น

ขั้นตอนการส่งอีเมล์ ผู้รับ ผู้ส่ง somchai.s@navy.mi.th To somchai.s@navy.mi.th From aroonpib@yahoo.com ISP : Internet Service Provider ผู้ให้บริการ Internet

Web Base E-Mail https://mail.navy.mi.th

Web Base E-Mail

pop3 E-Mail Software E-Mail client Outlook Express Microsoft Outlook Edora pop3 server : mail.navy.mi.th

ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์กองทัพเรือ http://letter.navy.mi.th

ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์

การสืบค้นข้อมูล ในช่อง Address ให้พิมพ์ URL ของ Google ดังนี้ http://www.google.com หรือ http://www.google.co.th

การใช้งาน Google

การใช้งาน Google แสดงจำนวน Web Address ที่พบจากการสืบค้น แสดง Web Page Title ที่พบข้อมูลตาม Keyword

การใช้งาน Google 3. กรณีที่ผลการสืบค้นพบมากกว่า 1 รายการใน Web Site เดียวกันจะแสดงรายการเป็นรายการย่อย 4. “หน้าที่ถูกเก็บไว้” (Cached) เป็นข้อมูลการสืบค้นโดยใช้ Google ครั้งหลังสุด 5. “หน้าที่คล้ายกัน” (Similar pages) เป็นการให้ Google ทำการค้นหา Web Page ที่มีลักษณะข้อมูลคล้ายคลึงกัน

“george washington” จะเหมือนกับ การใช้งาน Google วิธีการใช้การสืบค้น 1. Google ถือว่าตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวใหญ่(Capital) และตัวเล็ก เป็นตัวอักษรชนิดเดียวกัน “george washington” จะเหมือนกับ “George Washington”

การใช้งาน Google 2. กรณีที่ผู้ใช้ใส่ Keyword มากกว่า 1 คำ Google จะทำการเชื่อมคำภายใต้เงื่อนไข and โดยอัตโนมัติ “สุนัข แมว”  “สุนัข และ แมว” 3. “OR” ใช้เชื่อมคำหรือข้อความ 2 ชุด ที่ต้องการสืบค้นภายใต้เงื่อนไข “หรือ” “สุนัข or แมว”  “สุนัข หรือ แมว”

การใช้งาน Google 4. คำทั่วไปบางคำจะถูกยกเว้นในการใช้เป็น Keyword เช่น “how” “where” “when” รวมถึงตัวอักษรตัวเดียว หรือตัวเลขตัวเดียว เช่น “A” “s” “I” “3” แต่หากมีความจำเป็นต้องใช้ ให้ผู้ใช้ทำการเพิ่ม “+” หน้าตัวอักษรที่เป็น Keyword Star Wars Episode +I

การใช้งาน Google 5. กรณีที่ต้องการสืบค้นเป็นวลี หรือข้อความยาวๆ ทั้งชุดให้ทำการใส่เครื่องหมายคำพูดคร่อมวลี หรือข้อความ “the long and winding road” 6. กรณีที่คำที่ต้องการสืบค้นมีได้หลายความหมาย และต้องการยกเลิกไม่สืบค้นในความหมายที่ไม่ต้องการ ให้ใช้สัญลักษณ์ “-” หน้าข้อความที่เป็นความหมายที่ไม่ต้องการ

การใช้งาน Google 7. หากต้องการสืบค้นไฟล์เอกสารตามชนิดที่ระบุ ให้ทำการใส่ชนิดเอกสารไว้หลัง Keyword navy filetype:pdf 8. ค้นหาเฉพาะรายชื่อ Domain ที่ต้องการ ทำได้โดยใส่ Keyword ที่ต้องการ แล้วตามด้วยคำว่า “site:” navy site:th

การใช้งาน Google 9. สืบค้นข้อมูลที่เป็นช่วงของตัวเลข สามารถทำได้โดยใส่ “..” ในช่วงของข้อมูลต่ำสุด-สูงสุดที่ต้องการค้น สถิติอุบัติเหตุ ปี 2545..2549

Support Service Call center ระบบสมาชิกอินเตอร์เน็ต โทร. 57812 Website ทร. โทร. เทคนิค ,รักษาความปลอดภัย โทร. 57814

คำถาม ?? --------------------------------- Basic Computer