สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างและคุณสมบัติพื้นฐาน ของสายอากาศแบบต่างๆ
Advertisements

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
การติดต่อสื่อสาร.
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
Welcome to Electrical Engineering KKU.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
ปรากฏการณ์โพลาไรเซชั่น ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Electromagnetic Wave (EMW)
กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process)
หน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมทางภาษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
เพราะฉะนั้น ในแต่ละลำดับขั้นของระบบชีวิตจะมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
ความหมายและชนิดของคลื่น
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
คำชี้แจง สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
คลื่นผิวน้ำ.
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
สายสัมพันธ์ไฟฟ้า-แม่เหล็ก
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
บทที่ 4 พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ (Fundamental of Data and Signals)
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
ซ่อมเสียง.
ผลแห่งความสำเร็จ 3 ห หลักเกณฑ์ หลักการ หลักฐาน.
กล้องโทรทรรศน์.
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
Major General Environmental Problems
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
การหักเหของแสง (Refraction)
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
เรื่อง เสียง (Sound)หรือ ออดิโอ (Audio)
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใช้เกมพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
1.ความหมายของสื่อการเรียนการสอน/ประเภทของสื่อการเรียนการสอน
การฝึกทักษะการเล่นลูกสองมือล่าง (อันเดอร์) โดยใช้กระบวนการฝึกทักษะของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 นางพัชลินทร์ แดงประเสริฐ.
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4 คำชี้แจง สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4 1. บทเรียนเรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4 นักเรียนสามารถศึกษา ความรู้ตามลำดับขั้น 2. ขอขอบคุณเจ้าของข้อมูลแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ที่ได้จัดองค์ความรู้ เกี่ยวกับเรื่อง คลื่น เพื่อให้นักเรียนได้มีความรู้และนำไปใช้ ในชีวิตประจำวัน ผู้ผลิตมิได้มุ่งหวังทางการค้าใดๆทั้งสิ้น 3. ขอขอบคุณครูไตรรัตน์ เชื้อทองพิทักษ์ ผู้พัฒนาโปรแกรม สร้างแบบทดสอบ เข้าสู่บทเรียน

วิชาฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น (WAVE)

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนกัลยาณวัตร นายฉลอง รักษาภักดี ครูอันดับ คศ.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนกัลยาณวัตร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 1

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง   สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายถึงความหมาย การจำแนกและลักษณะของปรากฏการณ์คลื่น สาระสำคัญ คลื่น เป็นปรากฏการณ์แสดงลักษณะการถ่ายทอดพลังงานจากแหล่งกำเนิดออกไปยังบริเวณโดยรอบ การจำแนกคลื่น แบ่งได้หลายประเภท เช่น คลื่นกล คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นตามขวาง คลื่นตามยาว คลื่นดล และคลื่นต่อเนื่อง

การดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้   1.นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องความหมายและ การจำแนกคลื่น บันทึกผลลงในแผ่นดิสก์ส่ง 2.นักเรียนศึกษา ปรากฏการณ์ของคลื่น ตามหัวข้อต่อไปนี้ ความหมายของคลื่น การจำแนกคลื่นโดยเอาการอาศัยตัวกลางเป็นเกณฑ์ การจำแนกคลื่นโดยเอาการสั่นของตัวกลางเป็นเกณฑ์ การจำแนกคลื่นโดยเอาการกำเนิดคลื่นเป็นเกณฑ์ 3.นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนเรื่องความหมายและการ จำแนกคลื่น บันทึกผลลงในแผ่นดิสก์ส่ง

ความหมายของคลื่น คลิกที่ภาพเพื่อศึกษาตัวอย่างคลื่น คลื่น(Wave) หมายถึงปรากฏการณ์แสดงลักษณะการถ่ายทอดพลังงานจากแหล่ง กำเนิดออกไปยังบริเวณโดยรอบ

การจำแนกคลื่นโดยการอาศัยตัวกลางเป็นเกณฑ์ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ คลิกที่ภาพเพื่อศึกษาตัวอย่างคลื่น 1.คลื่นกล (Mechanical Wave) คือ คลื่นที่จำเป็นต้องอาศัยตัวกลางใน การถ่ายทอดพลังงาน เช่น คลื่นน้ำ คลื่นในขดลวด คลื่นเสียง เป็นต้น

การจำแนกคลื่นโดยการอาศัยตัวกลางเป็นเกณฑ์ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ 2.คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Wave) คือ คลื่นที่ไม่จำเป็น ต้องอาศัยตัวกลางในการถ่ายทอดพลังงาน เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ คลื่น อินฟราเรด คลื่นแสง คลื่นอัลตราไวโอเลต คลื่นรังสีเอ็กซ์ คลื่นรังสีแกมมา

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Wave) เป็นคลื่นที่เกิดจาก การเปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กเหนี่ยวนำต่อเนื่องกันไป โดยระนาบของสนามทั้งสองตั้งฉากซึ่งกันและกันและตั้งฉากกับทิศของคลื่น ดังรูป

การจำแนกคลื่นโดยอาศัยการสั่นตัวกลางเป็นเกณฑ์ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ คลิกที่ภาพเพื่อศึกษาตัวอย่างคลื่น 1.คลื่นตามขวาง (Transverse Wave) คือ คลื่นที่ทำให้ตัวกลางสั่นในแนวตั้งฉากกับ แนวการถ่ายทอดพลังงานหรือแนวการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นน้ำ คลื่นในขดลวด คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกชนิด เป็นต้น

1.คลื่นตามขวาง (Transverse Wave) เป็นคลื่นที่ทำให้เกิดส่วนที่โค้งสลับ กันในทิศตรงข้าม ดังรูป

การจำแนกคลื่นโดยอาศัยการสั่นตัวกลางเป็นเกณฑ์ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ คลิกที่ภาพเพื่อศึกษาตัวอย่างคลื่น 2.คลื่นตามยาว (Longitudinal Wave) คือ คลื่นที่ทำให้ตัวกลางสั่นใน แนวเดียวกับแนวการถ่ายทอดพลังงานหรือแนวการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นเสียงคลื่นในขดลวด เป็นต้น

2.คลื่นตามยาว (Longitudinal Wave) เป็นคลื่นที่ทำให้เกิดบริเวณที่เป็น ส่วนอัด ส่วนขยายขึ้นในตัวกลางที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านไป ดังรูป

การจำแนกคลื่นโดยอาศัยการกำเนิดคลื่นเป็นเกณฑ์ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ คลิกที่ภาพเพื่อศึกษาตัวอย่างคลื่น 1.คลื่นดล (Pulse Wave) คือ คลื่นที่เกิดเพียง 1-2 ลูก หรือเกิดขึ้นใน ช่วงเวลาสั้น ๆ

1.คลื่นดล (Pulse Wave) เป็นคลื่นที่เกิดจากแหล่งกำเนิดที่สั่นหรือถูก รบกวนเพียงครั้งเดียวหรือสองครั้ง เช่นสะบัดปลายขดลวดเพียงครั้งเดียว ดังรูป

การจำแนกคลื่นโดยอาศัยการกำเนิดคลื่นเป็นเกณฑ์ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ คลิกที่ภาพเพื่อศึกษาตัวอย่างคลื่น 2.คลื่นต่อเนื่อง (Continuous Wave) คือ คลื่นที่เกิดมากกว่า 2 ลูก หรือเกิดขึ้นในช่วงเวลานาน ๆ

สึนามิ สวัสดี