การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis บรรยายโดย พุทธไทย ฟักเหลือง วันที่ 25 มีนาคม 2560
ลำดับกิจกรรม 1. วิทยากรบรรยายเรื่อง หลักการของ SWOT Analysis จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยพิบัติ 2. กระบวนการมีส่วนร่วมระดมสมองเพื่อวิเคราะห์ ศักยภาพกองแผนงาน 3. ประชุมกลุ่มย่อยตามประเด็น SWOT เพื่อพิจารณา แนวทางการพัฒนาศักยภาพกองแผนงาน 4. นำเสนอแนวคิดการพัฒนา /โครงการพัฒนา
หลักการของ SWOT Analysis จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยพิบัติ
S W O T
จุดแข็ง good point จุดเด่น good point ข้อได้เปรียบ advantage S Strength จุดแข็ง good point จุดเด่น good point ข้อได้เปรียบ advantage
จุดอ่อน ข้อด้อย ข้อเสียเปรียบ bad point W Weakness จุดอ่อน ข้อด้อย ข้อเสียเปรียบ bad point
อุปสรรค prefix ข้อจำกัด limitation ภัยคุกคาม damage T Threats อุปสรรค prefix ข้อจำกัด limitation ภัยคุกคาม damage
O Opportunity โอกาสในการดำเนินการ การริเริ่ม chance ส่งเสริม/แก้ไข promote สนับสนุน/ผลักดัน support
สภาพแวดล้อมองค์กร Internal Environment กองแผนงาน External Environment
ปัจจัยต่อความสำเร็จในการทำงาน คน สิ่งแวดล้อม เงิน
Man/ women Money Management Material 4 M
ปัจจัยภายใน ธรรมเนียมปฏิบัติ วิสัยทัศน์ ภารกิจ โครงสร้าง อัตรากำลัง กฎระเบียบ ธรรมเนียมปฏิบัติ
ปัจจัยภายนอก นโยบาย ความต้องการของผู้รับบริการ แผนปฏิบัติการ สิ่งแวดล้อมในการทำงาน งบประมาณ ความต้องการของผู้รับบริการ
จบการบรรยายภาคเช้า
2. กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกคน ระดมสมองเพื่อวิเคราะห์ ศักยภาพกองแผนงาน
ให้ทุกคน 1. รับกระดาษ post it อย่างน้อยคนละ 4 แผ่น /4 สี/4 ความเห็น 2. คิดวิเคราะห์ว่า สถานภาพปัจจุบันของ กองแผนงาน ใน 4 ประเด็น S W O T อย่างน้อย ประเด็นละ 1 ความเห็น 3. นำข้อวิเคราะห์ดังกล่าวไปติดให้ตรงประเด็น ที่กำหนดไว้บน board
การประชุมระดมสมอง การฝึกปฏิบัติ
3. ทีมวิทยากร ร่วมกับผู้เข้าอบรมทุกคน ตรวจสอบ ความเห็นแต่ละใบ ว่าอยู่ใน ประเด็นที่ถูกต้อง/ เหมาะสมที่สุด
4. แบ่งกลุ่มผู้เข้าอบรมเป็น 4 กลุ่ม แยกการทำงานเป็นกลุ่ม ๆ นำผลการวิเคราะห์ SWOT มาพิจารณาแนวทางการแก้ไข/ แนวคิดการพัฒนา กองแผนงาน ที่เหมาะสม
5. นำเสนอแนวคิดการพัฒนา / โครงการพัฒนา กองแผนงาน ที่ละกลุ่ม โดยตัวแทนกลุ่มละ 4 คน วันอาทิตย์ที่ 26 มีนาคม 2560
4. ขออนุมัติแผนงาน/โครงการ ตามขั้นตอน และกระบวนการที่หน่วยงานกำหนด ด้านการก่อสร้าง ด้านครุภัณฑ์ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
รายละเอียดของแผนงาน/โครงการ 1. ชื่อโครงการ 2. หลักการและเหตุผล 3. วัตถุประสงค์ และเป้าหมาย 4. พื้นที่ดำเนินการ 5. กระบวนการ/ขั้นตอน/วิธีการดำเนินการ
6. ระยะเวลาดำเนินการ 7. ทรัพยากรที่ใช้ตามแผนงาน/โครงการ 8. การกำกับดูแลและติดตามประเมินผล 9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ หากการดำเนินการ ตามแผนงาน/โครงการ 10. ผู้เสนอโครงการ (ผู้เห็นชอบโครงการ) 11. ผู้อนุมัติโครงการ
3. การนำแผนงาน/โครงการไปสู่การปฏิบัติ 3. การนำแผนงาน/โครงการไปสู่การปฏิบัติ
การนำแผนงาน/โครงการไปสู่การปฏิบัติ ประเด็นสำคัญ 1. ชี้แจงสร้างความเข้าใจแก่บุคลากรทุกกลุ่ม/ฝ่าย ใน วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และขั้นตอนในการปฏิบัติ 2. กำหนดผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติงาน และผู้กำกับดูแล 3. ติดตามและรายงานผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อทราบถึงความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรค เพื่อ ปรับปรุงแก้ไขได้ทัน