โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘.
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส
1. 2 กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ที่ตัวชี้วัด หน่วยนับ แผนผล % หมายเหตุ 1 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง.
ตรวจการสหกรณ์ ปกติ เจ้าภาพ กจส./ กลุ่มส่งเสริม ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง ผู้ตรวจการ 1 ติดตามประเมินผล รวบรวมรายงาน.
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
Goal: people are healthy & safety from Tuberculosis In Chiang Mai.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
การจัดบริการคลินิกชะลอไตเสื่อม(CKD Clinic)
โครงการพัฒนารูปแบบ การคัดกรองวัณโรคและการรักษาวัณโรค
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ศูนย์บริการสาธารณสุข 39 ราษฎร์บูรณะ
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
TBCM Online.
การดำเนินงานควบคุมวัณโรค จังหวัดพิจิตร ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 – 26 มีนาคม /01/62.
แนวทางการดำเนินกิจกรรมและการสนับสนุนงบประมาณของ กองทุนโลกด้านวัณโรค “โครงการยุติปัญหา วัณโรคและเอดส์ด้วยชุดบริการ RRTTR: STAR-NFM” ของจังหวัดสระบุรี”
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
การบันทึกเพื่อส่งออก 43 แฟ้ม ข้อมูลผู้พิการ (DISABILITY)
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2560
ศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรค NOC TB อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ ผลการคัดกรองค้นหาวัณโรคในคลินิกเบาหวาน ใน รพ.สต. เขต อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ สมาชิกทีม นางกาญจนา พะวินรัมย์ และ ผู้รับผิดชอบงานวัณโรคโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 17 แห่ง

คำสำคัญ คำสำคัญ คัดกรองค้นหาวัณโรค, วัณโรคในผู้ป่วยเบาหวาน

ข้อมูลทั่วไป CUP Yangtalard 15 ตำบล 17 รพ.สต. 1 PCU ประชากร อ.ยางตลาด ปี 2553 จำนวน 139,942 คน เจ้าหน้าที่ สอ. เฉลี่ย 3 คน/สอ.

จำนวน 27 คน (ร้อยละ 15.51) , 33 คน (17.93) ตามลำดับ ที่มาของปัญหา ผู้ป่วยวัณโรคปี 2556-2558 จำนวน 228,174,184 คน คิดเป็นอัตราป่วยร้อยละ 164.0, 125.17, 132.3 / แสนประชากร โรคร่วมวัณโรค คือโรค เบาหวานปี 2557-2558 จำนวน 27 คน (ร้อยละ 15.51) , 33 คน (17.93) ตามลำดับ

โรคร่วม ปี 2557 ปี 2558 DM 27 33 HIV 5 7 HT 4 (2.17) Liver disease 6 (15.51) 33 (17.93) HIV 5 (2.87) 7 (3.80) HT 4 (2.17) Liver disease 6 (3.44) 8 (4.34)

ทบทวนการคัดกรองค้นหาที่ผ่านมา อบรม อสม.ออกไปคัดกรองพบผู้ที่มีอาการเข้าได้แจกตลับเสมหะ 3 ตลับ/คน รวบรวมส่ง รพ.สต.ตรวจสอบและนำส่งห้องปฏิบัติการโรงพยาบาล ปี 2557 -2558 นำส่งเสมหะ 576 คน (1,728 ตลับ) , 340 (1,020 ตลับ) พบผู้ป่วยเสมหะบวก 1 คน ในปี 2557 ปี 2558 ไม่พบ

กิจกรรมการแก้ปัญหา การวางแผนปฏิบัติ (Plan) ประชุมทีมผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรค PCT TB วิเคราะห์ข้อมูลวางแผนยุทธศาสตร์ร่วมกัน ค้นหา เพิ่มอัตราป่วยและลดภาระระค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ การปฏิบัติ (DO) ดำเนินการ 1 ก.พ. 2559 – 15 มิ.ย. 2559 เจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกแห่ง คัดกรองค้นหาผู้ป่วยวัณโรค ในคลินิกเบาหวานที่มารับยาใน รพ.สต. โดยใช้แบบฟอร์ม ICF 3 (ตามโครงการ new funding model ) แล้วรวบรวมเอกสารมา คัดกรองผู้ที่มีอาการสงสัย ส่งตัว มา CXR รพ.

การปรับปรุง(Action) 1. เจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสำรวจ จำนวน และวันนัดผู้ป่วยเบาหวานที่มารับยาใน รพ.สต. 2. ซักประวัติการรักษาเบาหวานและ ซักประวัติคัดกรองวัณโรคตามแบบฟอร์ม ICF 3 3. รวบรวมแบบฟอร์ม ICF 3 นำส่งพยาบาลคลินิกวัณโรคคัดแยกผู้ที่มีอาการเข้าเกณฑ์ 4. พยาบาลคลินิกวัณโรคทำหนังสือแจ้ง ให้ผู้ที่มีอาการเข้าได้มาตรวจ เอ็กเรย์ปอด 5. ผู้ที่มีอาการเข้าได้ เอ็กเรย์ปอดพบเงาผิดปกติ ส่ง ตรวจเสมหะ AFB 6. ผลตรวจเสมหะ (AFB) เป็นบวก เอ็กเรย์ปอดเข้าได้กับวัณโรค ให้ขึ้นทะเบียนการรักษา แบบ DOT 7. รายงานโรคให้ เจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลติดตามเยี่ยมบ้าน

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1. ผลการวิเคราะห์ ตาราง 1 ผลการคัดกรองวัณโรคคลินิกเบาหวาน (n=462 ราย) คุณสมบัติ อัตราส่วนร้อย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพศ : หญิง 76.0 - อายุ (ปี)   น้อยกว่า 30 ปี 0.4 31-44 3.0 45-59 31.6 60 ปีขึ้นไป 65.0 รวม 100.0 อายุเฉลี่ย (ปี) 63.4 10.4 ประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วย DM รายใหม่ 45.7 ผู้ป่วย DM รายเก่า 51.1 ผู้ป่วย HT 2.6 ผู้ป่วย DM+HT 0.6

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ประวัติการป่วยเป็นวัณโรค ส่งตรวจวินิจฉัยวัณโรค ตาราง 1 (ต่อ) ผลการคัดกรองวัณโรคคลินิกเบาหวาน (n=462 ราย) คุณสมบัติ อัตราส่วนร้อย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ประวัติการป่วยเป็นวัณโรค   เคยเป็น วัณโรค 4.3 - ไม่เคยเป็นวัณโรค 95.7 รวม 100.0 อาการสงสัยวัณโรค มีอาการ 10.2 ไม่มีอาการ 89.8 ส่งตรวจวินิจฉัยวัณโรค ส่งตรวจ 10.0 (46ราย) ไม่ส่งตรวจ 90.0 100 ผลการตรวจ CXR 5 ราย ตรวจเสมหะ 3 ราย ผิดปกติ 1 ราย เสมหะ บวก 1 ราย เป็นวัณโรคปอด 2 ราย (เสมหะ ลบ 1,เสมหะบวก 1)

เปรียบเทียบการค้นหาแบบเดิม และแบบหลังการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ผลงานคัดกรอง รณรงค์คัดกรอง ค่าใช้จ่าย คัดกรอง(คน) ผลบวก รายการ จำนวน (บาท) ปี 2557 576 (1,728 ตลับ)   1 คน ค่า OT เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ 21,600 ค่าตอบแทน อสม. คัดกรองนำส่งเสมหะ 5,760 ค่าตรวจ sputum AFB 60 บาท x 1 ตลับ 103,680 ค่าวัสดุ ตลับเสมหะ ซองใส สติกเกอร์เขียนชื่อ ... รวม 131,040 ปี 2558 340 (1,020 ตลับ) 6,000 3,400 60 บาท x ตลับ 61,200 70,600 รวม 2 ปี 201,640

สัมภาษณ์คัดกรองแบบฟอร์มใบ ICF 3 ค่า OT เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ แบบหลังการพัฒนา ผลงานคัดกรอง สัมภาษณ์คัดกรองแบบฟอร์มใบ ICF 3 ค่าใช้จ่าย คัดกรอง(คน) อาการเข้าได้ ตามมา CXR ผล AFB บวก รายการ จำนวน (บาท) ปี 2559 (1 ต.ค.58 – 30 มี.ค.59) 441   49 1 คน ( เสมหะ ลบ 1 คน) ค่า OT เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ (ทำในเวลา) ค่าใช้จ่าย CXR 6,860 ค่าตรวจ sputum AFB 60 บาท x 1 ตลับ 540  ค่าวัสดุ ตลับเสมหะ ซองใส สติกเกอร์ ชื่อ ... รวม 7,400

บทเรียนที่ได้รับ การคัดกรองค้นหา แบบเดิม ทำพร้อมกันทั้งอำเภอหวังผลทางจิตวิทยา กระตุ้นให้ชุมชนตื่นตัว แต่มีข้อด้อย เสียค่าใช้จ่ายสูง ตรวจเสมหะเป็นลบไม่ได้รับการประเมินซ้ำด้วยการเอ็กเรย์ปอด การคัดกรองใบคัดกรองซ้ำด้วยผู้เชี่ยวชาญก่อนนำผู้ป่วยมาสู่ระบบน่าจะเป็นการทำงานที่มีประสิทธิภาพสูงสุด

การติดต่อกับทีมงาน นางกาญจนา พะวินรัมย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นางกาญจนา พะวินรัมย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ Tel 093-3589165 เบอร์ ที่ทำงาน โรงพยาบาลยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ 043-891249 ต่อ 105 kanjananaka@hotmail.com