บทที่ 5 ผลิตภัณฑ์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

บทที่ 6 ผลิตภัณฑ์ ( Product ).
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
ส่วนประสมการตลาดและพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 10 ผลตอบแทนที่คำนึงถึงความเสี่ยง ของกลุ่มหลักทรัพย์
การใช้งานโปรแกรม SPSS
การตลาดในธุรกิจยุคปัจจุบัน (Marketing in the Present Business)
แผนธุรกิจ บริษัท บุญอริยะ อิมปอร์ต จำกัด กิจกรรม “ การพัฒนาศักยภาพการบริหารธุรกิจในอุตสาหกรรมแฟชั่น ” ภายใต้ โครงการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมแฟชั่นไทย.
บริษัท สุรีย์ภรณ์ไหมไทย จำกัด
แผนธุรกิจ บริษัท 96 Studio จำกัด
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
บริษัท The Best Gems จำกัด
บทที่ 12 นโยบายและกลยุทธ์การตั้งราคาโดยผู้ผลิต
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
1.
ความเป็นมาของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ความหมายของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ขอบข่ายการศึกษาความเป็นไปได้ของ โครงการ การประเมินโครงการและการจัดลำดับ.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
เรื่องที่ครอบคลุม การซื้อขายสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
Content Team: คู่มือการป้องกันสินค้าลอกเลียนแบบ 9 July 2015
The Theory of Comparative Advantage: Overview
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)
การออกแบบและการจัดผังร้านค้า
ตำแหน่งสินค้าในใจผู้ บริโภค
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
บทที่ 2 กลยุทธ์ช่องทางการจัดจำหน่าย (Place Strategy)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ระบบเศรษฐกิจ.
ความรู้เบื้องต้นทางการตลาด
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
แบบทดสอบ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 - 4
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
บทที่ 7 การจัดเก็บวัสดุและหีบห่อ
หลักการตลาดสมัยใหม่ (Principles of New Modern Marketing) )
MK201 Principles of Marketing
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
การบริหารผลิตภัณฑ์ (Product Management)
แผนการตลาดสำหรับ [ชื่อผลิตภัณฑ์]
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 5 ผลิตภัณฑ์.
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
หน่วยที่ 4 ตลาดเป้าหมาย.
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
การวางแผนกำลังการผลิต
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
ธุรกิจแฟรนไชส์. ธุรกิจแฟรนไชส์ แฟรนไซส์ แฟรนไชส์ (Franchise)  เป็นคำศัพท์ที่มีรากศัพท์มาจากภาษาฝรั่งเศส  คือ " Franchir " แปลว่า  " สิทธิพิเศษ " สิทธิพิเศษที่บริษัทแม่มอบให้กับผู้ที่เข้าร่วมกิจการโดยสิทธิพิเศษนี้จะครอบคลุมระบบเกือบทั้งหมด.
กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
บทที่ 7 การจัดเก็บวัสดุและหีบห่อ
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 5 ผลิตภัณฑ์

องค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ 3 ระดับ

ประเภทของสินค้า 2 ประเภท 1. สินค้าอุปโภคบริโภค (Consumer Product) 1.1 สินค้าสะดวกซื้อ (Convenience Product) สินค้าหลัก (Staple product) สินค้าซื้อฉับพลัน (Impulse product) สินค้าที่ซื้อยามฉุกเฉิน (Emergency product) 1.2 สินค้าเปรียบเทียบซื้อ (Shopping Product) สินค้าเปรียบเทียบซื้อที่เหมือนกัน, สินค้าเปรียบเทียบซื้อที่ต่างกัน 1.3 สินค้าเจาะจงซื้อ (Specialty Product) 1.4 สินค้าไม่แสวงซื้อ (Unsought Product ) 2. สินค้าอุตสาหกรรม (Industrial Product) กลุ่มที่ 1 วัตถุดิบและชิ้นส่วนประกอบ กลุ่มที่ 2 สินค้าประเภททุน กลุ่มที่ 3 วัสดุสิ้นเปลืองและบริการ วัสดุใช้แล้วหมดไปและบริการ

ลำดับขั้นคุณค่าของลูกค้า (Customer Value Hierarchy) ใช้ในการวางแผนในการสร้างคุณค่าผ่านผลิตภัณฑ์ให้ลูกค้ารู้สึกบรรลุเป้าหมายในชีวิต 1.ผลประโยชน์หลักของผลิตภัณฑ์ (Core Benefit) 2.ลักษณะทั่วไปของผลิตภัณฑ์ (Generic Product) 3. ผลิตภัณฑ์ที่คาดหวัง (Expected Product) 4.ผลิตภัณฑ์ส่วนเพิ่ม (Augmented Product) 5.ผลิตภัณฑ์ในอนาคต (Potential Product)

ส่วนประสมผลิตภัณฑ์ (Product mix) 1.สายผลิตภัณฑ์ (Product line) 2.รายการผลิตภัณฑ์ (Product item) 3.ความกว้างของผลิตภัณฑ์ (Product width) 4.ความลึกของผลิตภัณฑ์ (Product depth) 5.ความยาวของผลิตภัณฑ์ (Product length) 6.ความสอดคล้องของผลิตภัณฑ์ (Product line consistency)

Product line consistency Product width Product item Product length Product depth

ตราสินค้า และประเภทของตราสินค้า

Brand Brand name Brand Mark

เหตุผลของการใช้ตราสินค้า สำหรับผู้บริโภค สำหรับผู้ผลิตหรือผู้ขาย 1ช่วยส่งเสริมการตลาด, 2รับรู้ง่าย 3เปรียบเทียบราคา, 4.สร้างชื่อเสียง 5.สร้างความภักดี, 6.สร้างความแตกต่าง 7.ใช้วาง Positioning,8.แนะนำสินค้าใหม่ 1. ระบุผลิตภัณฑ์ง่าย 2.ตัดสินใจซื้อได้เร็ว 3.มั่นใจในสินค้า

หลักเกณฑ์การเลือกชื่อตราสินค้า 1.คำง่ายต่อการออกเสียง 2.สัมพันธ์กับตัวผลิตภัณฑ์ 3.เด่นเฉพาะตัวไม่ซ้ำกับคู่แข่งขัน 4.นำไปจดทะเบียนคุ้มครองตามกฎหมายได้

การใช้ชื่อตราสินค้าเป็นชื่อสามัญของสินค้า (Generic name) คือ ตราสินค้าที่ผู้บริโภคทั่วไปยอมรับและเรียกติดปากกันมานานจนเป็นชื่อสามัญ ที่คุ้นหู เช่น โค้ก แฟ๊บ มาม่า ข้อดี จำหน่ายก่อน ผู้บริโภคคุ้นเคยมากกว่า ข้อเสีย ออกจำหน่ายที่หลังเสียเปรียบ

ประเภทของตราสินค้า 2 ประเภท 1. ตราสินค้าของผู้ผลิต (Manufactured brand) 1.1 ตราสินค้าเฉพาะ (Individual brand) ตราบริษัทเดียวกัน ชื่อต่างกัน เช่น สินค้าในเครือยูนิลีเวอร์ ข้อดี ช่วยผลิตภัณฑ์ตัวที่ ไม่ประสบความสำเร็จได้ ข้อเสีย เสียค่าใช้จ่ายโฆษณาสูง

1.2 ตราครอบครัว (Family brand) คือ การใช้ชื่อตราสินค้าเดียวกันกับชื่อตราสินค้าทุกชนิด เช่น เบสฟูดส์ จอห์นสัน ข้อดีแนะนำผลิตภัณฑ์ใหม่ง่าย ข้อเสีย หากมีผลิตภัณฑ์ล้มเหลวจะเสียชื่อทั้งหมด

1.3 ตราครอบครัวแยกกันสำหรับผลิตภัณฑ์แต่ละกลุ่ม (Separate family name for product)

1.4 ชื่อบริษัทร่วมกับชื่อของผลิตภัณฑ์ (Company Trade Name Combined with Individual Product Name)

2.ตราสินค้าของคนกลาง (Middleman’s brand) เป็นตราสินค้าที่คนกลางจ้างผลิตในชื่อของคนกลาง หรือเรียกว่า House brand เช่น

ข้อดีข้อเสียของสินค้าเฮ้าส์แบรนด์ ข้อดีของสินค้าเฮ้าส์แบรนด์ 1.ต้นทุนต่ำกว่าสินค้าที่มีชื่อเสียง 2.ประหยัดค่าใช้จ่ายในการโฆษณา 3.จัดวางรวมกับสินค้ามีชื่อเสียงได้ 4.จัดวางในพื้นที่เด่นได้ ข้อเสียของสินค้าเฮ้าส์แบรนด์ 1.ถูกมองว่าเป็นธุรกิจที่เอาเปรียบธุรกิจอื่น 2.ผู้บริโภคไม่ยอมรับเพราะถูกมองว่าคุณภาพต่ำราคาต่ำ

ป้ายฉลาก (Label) และบรรจุภัณฑ์ (Packaging) 1.ป้ายฉลากแสดงตราสินค้า (Brand label) 2.ป้ายฉลากแสดงรายละเอียดสินค้า (Descriptive label) 3.ป้ายฉลากแสดงคุณภาพ (Grade label)

การบรรจุภัณฑ์ (Packaging)

ลักษณะของบรรจุภัณฑ์ 3 ลักษณะ การบรรจุภัณฑ์ชั้นแรก (Primary packaging) ห่อหุ้มสัมผัสกับสินค้า การบรรจุภัณฑ์ชั้นที่สอง (Secondary packaging) ถัดออกมาอีกชั้นหนึ่ง การบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง (Shipping Packaging) บรรจุภัณฑ์ที่ใช้ รวมผลิตภัณฑ์จำนวนมากและป้องกันการเสียหายอาจไม่เน้นความสวยงามมากนัก

Thank you for your attention