งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการออกแบบนิตยสาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการออกแบบนิตยสาร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการออกแบบนิตยสาร

2 นิตยสาร คือ อะไร?

3 นิตยสาร นิตยสาร หมายถึง สิ่งพิมพ์ที่มีการกำหนดออกที่แน่นอน ภายในเล่มมีการบรรจุเนื้อหาที่มีความหลากหลายในแง่รายละเอียด และวิธีการเขียน ซึ่งนิตยสารแต่ละฉบับยังมีส่วนผสมของงานเขียนที่มีความแตกต่างกันไปตามวัตถุ ประสงค์และกลุ่มเป้าหมายของแต่ละฉบับอีกด้วย ประเภทของนิตยสาร

4 นิตยสารที่ออกโดยหน่วยราชการ นิตยสารที่ออกโดยเอกชน
ประเภทของ นิตยสาร นิตยสารที่ออกโดยหน่วยราชการ นิตยสารที่ออกโดยเอกชน

5 นิตยสารที่ออกโดยเอกชน
ส่วนใหญ่เป็นนิตยสารเพื่อผู้บริโภคโดยทั่วไป (Consumer Magazines) ทำขึ้นเพื่อจัดจำหน่ายโดยทำเป็นธุรกิจที่หวังผลกำไร มีการหารายได้จากการรับลงโฆษณาเป็นหลัก

6 นิตยสารที่ออกโดยหน่วยราชการ
นิตยสารที่ออกโดยหน่วยราชการ หรือ สถาบันที่มิได้มุ่งผู้อ่านทั่วไป อาจเรียกว่า “วารสาร” มีวิธีการเผยแพร่โดยการให้เปล่าหรือจะใช้วิธีขายก็ได้ เป็นนิตยสารที่มุ่งกลุ่มผู้อ่านเฉพาะ

7 ส่วนประกอบของนิตยสาร
ปกหน้า หน้าสารบัญ ส่วนประกอบของนิตยสาร หน้าเนื้อเรื่อง หน้าเปิดเรื่อง

8 ปกหน้า

9 หน้าสารบัญ

10 หน้าเปิดเรื่อง หน้าเนื้อเรื่อง

11 หน้าเนื้อเรื่อง หน้าเปิดเรื่อง

12 หน้าเปิดเรื่อง หน้าเนื้อเรื่อง

13 หน้าเนื้อเรื่อง หน้าเปิดเรื่อง

14 สิ่งที่ต้องกำหนดและ วางแผนก่อนการ ออกแบบ
รูปแบบของ หน้าปก ขนาด และรูปแบบ สิ่งที่ต้องกำหนดและ วางแผนก่อนการ ออกแบบ รูปแบบของตัวอักษร รูปแบบของภาพประกอบ

15 การกำหนดขนาดและรูปแบบของนิตยสาร
แม้ว่านิตยสารจะสามารถผลิตได้หลายขนาดและรูปแบบ แต่ก็ต้องคำนึงถึงต้นทุนการผลิตด้วย โดยขนาดของนิตยสารที่นิยมใช้ทั่วไปมีดังนี้ 1. นิตยสารมาตรฐาน ขนาด 4 หน้ายก = x 15 นิ้ว 2. นิตยสารขนาดเล็ก ขนาด 8 หน้ายก = 7.5 x นิ้ว

16 การกำหนดรูปแบบของหน้าปก
หน้าปกเป็นหน้าที่สำคัญที่สุดของนิตยสาร เพราะสิ่งที่จะสร้างความประทับใจแรกแก่ผู้รับสาร และเป็นปัจจัยสำคัญในการพิจารณาเลือกซื้อของผู้รับสาร ดังนั้นทั้งรูปแบบของหน้าปกจะต้องดึงดูดความสนใจ และเร้าให้ผู้รับสารอยากอ่านเนื้อภายใน และบ่งบอกถึงภาพลักษณ์ของนิตสารเล่มนั้นๆ อย่างชัดเจนด้วย

17 การกำหนดรูปแบบของตัวอักษร
ในการออกแบบนิตยสารนั้น ควรกำหนดรูปแบบและขนาดของตัวอักษร สำหรับหน้าต่างๆ เอาไว้เพื่อให้เกิดความสม่ำเสมอ และความรวดเร็วในการออกแบบ ตัวอักษรที่ใช้เป็นเนื้อเรื่องนั้นไม่ควรมีขนาดเล็กกว่า 12 พอยต์ โดยต้องคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมายเป็นหลัก

18 การกำหนดรูปแบบของภาพประกอบ
การกำหนดขนาดและรูปแบบของภาพ ประกอบในนิตยสารควรได้รับการกำหนดล่วงหน้าเช่นเดียวกันกับตัวอักษร เพื่อให้เกิดเอกลักษณ์อันบ่งบอกถึงลักษณะเฉพาะของนิตยสารอย่างชัดเจน และเพื่อให้เกิดเอกภาพร่วมกันทั้งฉบับ

19 ระบบกริดสำหรับการออกแบบนิตยสาร
ส่วนประกอบต่างๆ ของนิตยสาร ระบบกริดสำหรับการออกแบบนิตยสาร องค์ประกอบและ การจัดวางส่วนต่างๆ

20 ระบบกริดสำหรับการออกแบบนิตยสาร
ระบบกริดที่เหมาะสมกับนิตยสารที่สุดได้แก่ คอลัมน์ กริด และโมดูลาร์ กริด คอลัมน์ กริด โมดูลาร์ กริด

21 องค์ประกอบและการจัดวางส่วนต่างๆ ของนิตยสาร
ปกหน้า หน้าสารบัญ องค์ประกอบและการจัดวางส่วนต่างๆ ของนิตยสาร หน้าเปิดเรื่อง หน้าเนื้อเรื่อง

22 ปกหน้า + แถบชื่อ หรือ หัวหนังสือ : ควรมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวเพื่อให้ผู้รับอ่านสามารถสังเกตและจดจำได้ง่าย โดยมักมีรายละเอียดที่แสดง ฉบับที่ วัน เดือน ปี ปักษ์ ที่ออก เป็นต้น อยู่ด้านล่าง + รูปภาพ : เป็นส่วนที่ใช้ดึงดูดความสนใจ และสร้างความเป็นเอกลักษณ์ของนิตยสาร + ข้อความบนปก หรือส่วนโปรยเรื่อง : เป็นส่วนหนึ่งขององค์ประกอบ ที่เรียกความสนใจต่อเนื้อหาด้านในได้เป็นอย่างดี

23 หน้าสารบัญ + ส่วนสารบัญ : ต้องเน้นความชัดเจนและความสะดวกในการสืบค้นเนื้อหาของผู้อ่าน + ตราสัญลักษณ์ของนิตยสาร : ใช้เพื่อตอกย้ำภาพลักษณ์ของนิตยสาร แต่ต้องจัดวางแยกจากสารบัญอย่างชัดเจน เพื่อไม่ให้รบกวนการสืบค้นข้อมูล + พิมพ์ประกาศ : ในหน้าสารบัญ มักมีการให้ข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับนิตยสารเช่น รายชื่อผู้รับผิดชอบ สถานที่พิมพ์ สถานที่ติดต่อ นิยมวางไว้ด้านล่าง หรือด้านข้างของหน้า

24 หน้าเปิดเรื่อง หน้าเปิดเรื่องคือหน้าแรกของคอลัมน์ หรือเนื้อหาต่างๆ ผู้ออกแบบควรจะสร้างความรู้สึกตื่นเต้นชวนติดตามแก่ผู้อ่าน โดยมักมีองค์ประกอบดังนี้ + ชื่อเรื่อง + ชื่อคอลัมน์ + ชื่อผู้เขียน + ภาพเปิดเรื่อง + เนื้อหา

25 หน้าเนื้อเรื่อง เป็นส่วนที่แสดงรายละเอียด ของแต่ละหัวเรื่อง ซึ่งเป็นส่วนที่จะตอบสนองความต้องการของผู้อ่านมากที่สุด โดยมีองค์ประกอบดังนี้ + เนื้อเรื่อง : ควรใช้ตัวหนังสือที่อ่านง่ายขนาดตั้งแต่ 12 พอยต์ขึ้นไป + ภาพประกอบ : ใช้สนับสนุนเนื้อหาเป็นหลัก

26 ตัวอย่าง

27 ตัวอย่าง

28 ตัวอย่าง

29 ตัวอย่าง

30 ตัวอย่าง

31 งานชิ้นที่ 4 : แผ่นพับ (10 คะแนน)
แบ่งเป็น 5 กลุ่ม ออกแบบนิตยสาร ‘วิทยาจารย์’ ตามข้อมูลที่ระบุให้ ส่งผลงานเป็นไฟล์ PDF ตั้งค่าสำหรับส่งโรงพิมพ์ ตั้งชื่อไฟล์ด้วยหมายเลขกลุ่ม แยกเป็น 2 ไฟล์ ระหว่างปกกับเนื้อหา เช่น ‘01-Cover’ และ ‘01-Content’ ส่งมาทางอีเมล ตั้งชื่อเมลตามชื่อไฟล์งาน พร้อมระบุโจทย์ของการออกแบบและรายชื่อคนในกลุ่มในอีเมล ก่อนหมดคาบ วันที่ 22 มี.ค. 59

32 Adobe InDesign


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการออกแบบนิตยสาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google