บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
System Requirement Collection (2)
Advertisements

เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
S OFTWARE จัดทำโดย นางสาว กนกวรรณ สุขมิลินท์ เลขที่ 34 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
โครงงาน คือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ทำการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โปรแกรมประยุกต์ หลายชนิด มีการทำงานร่วมกันระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ ที่ต่ออยู่ในเครือข่าย โดยอาศัยเครือข่ายเป็น สื่อกลาง ในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันและกัน.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนบอกองค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ได้ สาระการเรียนรู้ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุลากร คอมพิวเตอร์ ข้อมูล.
เรื่อง การเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ กับ การนำเสนองาน โดย ครูอัมพร ประเสริฐสังข์ ครู คศ. ๑ โรงเรียนบ้านยามกาโนนคำ อ. เพ็ญ สพป. อุดรธานี เขต 1 วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
ซอฟต์แวร์ Software รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ความหมายและความสำคัญของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรม ที่คอยสั่งการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
เรื่อง ภาษาซีเบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
หนังสือ เข้า 1. หน่วยสาร บรรณ หรือ งานธุรการ ระบบสารบรรณกระดาษ - บันทึกรายละเอียดผ่านระบบ - สแกนเอกสารลงระบบ ( กรณีเร่งด่วน ) 2. หน่วยงาน ภายใน - ลงทะเบียนรับผ่านระบบ.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงงาน(Project) เรื่อง ระบบร้านเช่าหนังสือออนไลน์
Material requirements planning (MRP) systems
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
บทที่ 5 เครื่องมือสืบค้นข้อมูล (Search Engine)
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Basic Input Output System
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language)
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
ขอแนะนำ PowerPoint 2007 การแนะนำคุณลักษณะใหม่ๆ.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
เรื่อง การใช้งานระบบ Survey license
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
ภัยคุกคาม ที่เกิดขึ้นในระบบสารสนเทศ
SMS News Distribute Service
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23 คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สพม. เขต 23

ซอฟต์แวร์ (Software) คือชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานเป็นลำดับตามขั้นตอน และแผนงานต่าง ๆ ของการทำงานตามเงื่อนไขและข้อตกลงที่ได้ดำเนินการหรือจัดเตรียมไว้แล้ว

ซอฟต์แวร์ (Software) คอมพิวเตอร์ ทำงานได้ มากมาย เพราะมีผู้พัฒนา โปรแกรม คอมพิวเตอร์ มาสั่งงาน คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ จึงเป็น ส่วนสำคัญ ของระบบ คอมพิวเตอร์ หากขาด ซอฟต์แวร์ คอมพิวเตอร์ ก็ไม่สามารถ ทำงานได้

ประเภทของ Software Software Software ประยุกต์ Software ระบบ

ซอฟต์แวร์ระบบ System Software ซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการจัดการระบบคอมพิวเตอร์ จัดการและดูแลทางด้านอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่อยู่ในระบบ เช่น การรับเข้าและส่งออก การนำข้อมูลออกไปพิมพ์ การจัดเก็บข้อมูล การเรียกค้น การสื่อสารข้อมูล เป็นต้น

ซอฟต์แวร์ระบบ System Software ระบบปฏิบัติการ (Operating System) โปรแกรมระบบที่ทำหน้าที่ควบคุมการใช้งานส่วนต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ควบคุมหน่วยความจำ ควบคุมหน่วยประมวลผล ควบคุมหน่วยรับและควบคุมหน่วยแสดงผล ตลอดจนแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพในการทำงานสูงที่สุด และสามารถใช้อุปกรณ์ทุกส่วนของคอมพิวเตอร์และช่วยจัดการกระบวนการพื้นฐานที่สำคัญ ๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่นการเปิด หรือปิดไฟล์ การสื่อสารกันระหว่างชิ้นส่วนต่าง ๆ ภายในเครื่อง การส่งข้อมูลออกสู่เครื่องพิมพ์หรือสู่จอภาพ เป็นต้น ก่อนที่คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะสามารถอ่านไฟล์ต่าง ๆ หรือสามารถใช้ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ได้จะต้องผ่านการดึงระบบปฏิบัติการออกมาฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำก่อน ปัจจุบันนี้มีโปรแกรมระบบอยู่หลายตัวด้วยกันซึ่งแต่ละตัวนั้นก็เป็นโปรแกรมระบบปฏิบัติการเหมือนกัน แต่ต่างกันที่ลักษณะการทำงานจะไม่เหมือนกัน 

ซอฟต์แวร์ระบบ System Software โปรแกรมยูทิลิตี (Utilities) โปรแกรมระบบที่ทำหน้าที่ในการอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ให้สามารถทำงานได้สะดวก รวดเร็วและง่ายขึ้น เช่น โปรแกรมที่ใช้ในการเรียงลำดับข้อมูล โปรแกรมโอนย้ายข้อมูลจากชนิดหนึ่งไปยังอักชนิดหนึ่ง โปรแกรมรวบรวมข้อมูล 2 ชุดเข้าด้วยกัน โปรแกรมคัดลอกข้อมูลเป็นต้น

ซอฟต์แวร์ระบบ System Software Translation Program คือโปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการแปลโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่เขียนด้วยภาษาที่ไม่ใช่ภาษาเครื่อง หรือภาษาเครื่องที่ไม่เข้าใจให้เป็นภาษาที่เครื่องสามารถรู้เรื่องเข้าใจ และนำไปปฏิบัติได้ เช่น ภาษา BASIC ,COBOL,C, PASCAL, FORTRAN, ASSEMBLY เป็นต้น สำหรับตัวแปลนั้นจะมี 3 แบบคือ

ซอฟต์แวร์ระบบ System Software Diagnostic Program คือ โปรแกรมระบบที่ทำหน้าที่ตรวจสอบข้อผิดพลาดใน การทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้แก่ โปแกรม QAPLUS โปรแกรม NORTON เป็นต้น และเมื่อพบข้อผิดพลาดก็จะแจ้งขึ้นบนจอภาพให้ทราบ

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ Application Software ซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นเพื่อประยุกต์ใช้กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ ซึ่งต้องทำงานภายใต้สิ่งแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบ

ซอฟต์แวร์ประยุกต์(บางครั้ง) Application Software ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ ซอฟต์แวร์สำเร็จ

ซอฟต์แวร์สำเร็จ - คือโปรแกรมที่เขียนขึ้นและสามารถใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ได้เลย โดยเราไม่ต้องเสียเวลาสร้างโปรแกรมใหม่ จัดหาซื้อได้ง่าย ซึ่งบางครั้งก็รวมอยู่กับโปรแกรมประยุกต์เป็นประเภทเดียวไม่มีซอฟต์แวร์เฉพาะไปเลย

ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์สำเร็จ - ซอฟต์แวร์ประมวลคำ - ซอฟต์แวร์นำเสนองาน - ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล - ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน - ซอฟต์แวร์ที่เชื่อมโยงเครือข่ายอินเทอร์เน็ต - ซอฟต์แวร์วาดภาพกราฟฟิก เป็นต้น

ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ - ซอฟต์แวร์สำเร็จ มักจะเน้นการใช้งานทั่วไป แต่อาจจะนำมาประยุกต์โดยตรงกับงานทางธุรกิจบางอย่างไม่ได้ เช่น ในกิจการธนาคาร มีการฝากถอนเงิน งานทางด้านบัญชี หรือในห้างสรรพสินค้า ก็มีงาน การขายสินค้า การออกใบเสร็จรับเงิน การควบคุม สินค้าคงคลัง ดังนั้น จึงต้องมีการ พัฒนาซอฟต์แวร์ ใช้งานเฉพาะ สำหรับงาน แต่ละประเภท ให้ตรงกับความต้องการ ของผู้ใช้แต่ละราย

ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ -ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ มักเป็นซอฟต์แวร์ ที่ผู้พัฒนา ต้องเข้าไป ศึกษารูปแบบการทำงาน หรือความต้องการ ของธุรกิจนั้นๆ แล้วจัดทำขึ้น โดยทั่วไปจะเป็น ซอฟต์แวร์ ที่มีหลายส่วนรวมกันเพื่อร่วมกันทำงาน ซอฟต์แวร์ ใช้งานเฉพาะที่ใช้กัน ในทางธุรกิจ ความต้องการ ของการใช้คอมพิวเตอร์ ในงานทางธุรกิจ ยังมีอีกมาก ดังนั้นจึง ยังมีความต้องการ ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ เพื่อพัฒนาซอฟต์แวร์ ใช้งานเฉพาะต่างๆ อีกมากมาย

ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์เฉพาะ - ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี - ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง - ซอฟต์แวร์ระบบงานทางด้านบัญชี - ซอฟต์แวร์ระบบงานจัดจำหน่าย - งานควบคุมเครื่องจักรในโรงงาน เป็นต้น

ในบางตำรามีแยกย่อยโปรแกรมออกไปอีก -โปรแกรมแปลภาษา เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ ใช้ตัวเลข 0 และ 1 นี้เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งและใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง        การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นที่เป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษ เรียกว่า โปรแกรมต้นฉบับ (source code)

โปรแกรมแปลภาษา ที่เรียกกว่า Statements ที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษ  ทำให้ผู้ที่เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น แต่คอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจกับภาษาที่เขียนนั้นเนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงภาษามนุษย์ จึงต้องมีตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องมักอยู่ 2ชนิด ด้วยกัน คือ   คอมไพเลอร์ (Compiler )และ อินเทอร์พรีเตอร์(Interpreter)     -คอมไพเลอร์       จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูง ทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น   -อินเทอร์พรีเตอร์       จะทำการแปล ทีละคำสั่ง  แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งสั่ง เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งต่อไป ข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอร์พรีเตอร์จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรมหรือแปลทีละคำสั่ง

ภาษาคอมพิวเตอร์ -ภาษาใดๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์หรือสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยกัน อาจจะมีรูปแบบและโครงสร้างเฉพาะของภาษา ซึ่งคอมพิวเตอร์สามารถทำงานตามคำสั่งนั้นได้ เช่น HTML Java ภาษาสคริปต์ ภาษาโปรแกรม