ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น “ขับเคลื่อนอย่างไรให้ยั่งยืน”
คำสั่งกรมส่งเสริมการเกษตร
สกลนครโมเดล.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ตัวอย่าง SIPOC ที่ 1 : งานรับฟังความคิดเห็นทั่วไป
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
การประชุมคณะทำงานพัฒนามาตรฐานงานเภสัชกรรมในโรงพยาบาล และหน่วยบริการปฐมภูมิ ครั้งที่ 1/2562 ณ ห้องประชุมเหล็กน้ำพี้
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดบุรีรัมย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปตรวจราชการคณะ 2 การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ จังหวัดมุกดาหาร วันที่ 6 – 8 มิถุนายน 2561

ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ (ร้อยละ 50) รูปภาพ

คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) สถานการณ์ มีคณะกรรมการ พชอ.ครบทุกอำเภอ ทุกอำเภอมีประเด็นปัญหาคุณภาพชีวิตอำเภอ ทุกอำเภอมียุทธศาสตร์การพัฒนา (Target) ทุก CUP ได้รับงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงานจาก สปสช.เขต 10 (งวดที่ 1) อำเภอต้นแบบ DHB (หว้านใหญ่ร่มเย็นใต้ร่มพระบารมี และนิคมคำสร้อยมั่นยืน) ผลการดำเนินงาน รับนโยบาย/แนวทางขับเคลื่อน พชอ. จากรัฐมนตรี (VDO Conference) เสนอเนื้อหาระเบียบสำนักนายกฯ ต่อที่ประชุมกรมการจังหวัด / กวป ทุกอำเภอประชุมจัดทำแผนฯแก้ไขปัญหาตามประเด็นที่กำหนด แต่งตั้งคณะกรรมการ พชจ.มุกดาหาร เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน - สสอ.5 อำเภอ ร่วมอบรมพัฒนาศักยภาพเลขานุการ พชอ. ชายขอบ ชายโขง เขต 10 (เมือง ดอนตาล หว้านใหญ่ คำชะอี ดงหลวง)

คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) จำนวน (อำเภอ) ประเด็นปัญหา หมายเหตุ : ประเด็นอื่นๆ ได้แก่ ยาเสพติด อุบัติเหตุ เศรษฐกิจและรายได้ โอกาสพัฒนา จุดเด่น ติดตามเยี่ยมเสริมพลังโดย คกก.พชจ. บูรณาการร่วมกันกับโครงการไทยนิยมยั่งยืน โครงการพระราชดำริ ร.9 และ ร.10 โครงการในพระบรมวงศานุวงศ์ (ตามนโยบาย พชช.) การจัดทำแผนขับเคลื่อนการแก้ปัญหาตามประเด็นของอำเภอ กำหนดเป็น KPI Grading เพื่อใช้ในการ ประเมินสมรรถนะขององค์กร และหน่วยงาน มี คณะกรรมการ พชจ.มุกดาหาร

Primary Care Cluster : PCC จังหวัดมุกดาหาร KPI : ร้อยละของคลินิกหมอครอบครัวที่เปิดดำเนินการในพื้นที่ (Primary Care Cluster) เป้าหมาย ปี 2561 (ร้อยละ 36) สะสม

หมอครอบครัว (Primary Care Cluster; PCC) จังหวัดมุกดาหาร การดำเนินงานปี 60 – 61 (14 ทีม ) สถานการณ์ ปี 60 PCC ที่ผ่านการ register 5 ทีม ปี 61 PCC ที่จะเปิดดำเนินการ 9 ทีม แพทย์ FM ระยะสั้น 8 คน (รออบรม 1 คน ระหว่างอบรม 2 คน), อว 3 คน, วว 2 คน พยาบาลอบรม FNP 8 คน เป้าหมาย PCC คุณภาพ 4 ทีม ผ่านเกณฑ์คุณภาพ PCC รพ.มุกดาหาร PCC ป่งขาม PCC โคกกลาง PCC สานแว้ ผู้บริหารฯให้การสนับสนุนและกำหนดนโยบายในการพัฒนาอย่างชัดเจน และถ่ายทอดสู่ผู้ปฏิบัติ มี PCC รพท. เป็น PCC ต้นแบบ จุดเด่น โอกาสพัฒนา เป้าหมายเพื่อพัฒนาให้เป็น PCC คุณภาพ 10 ทีม

การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.ติดดาว) ร้อยละ 25 (สะสม)

การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว สถานการณ์ รพ.สต.ทั้งหมด เป้าหมาย ร้อยละ 25 (สะสม) ผ่านการรับรอง ปี 60 (ร้อยละ 10) เป้าหมาย ปี 61 (ร้อยละ 50) 78 แห่ง 20 แห่ง 18 แห่ง (23.08) 40 แห่ง จำนวน (แห่ง) ผลการประเมินตนเอง ปี 61 หมายเหตุ : ประเมินรับรองระดับอำเภอแล้วเสร็จ 2 อำเภอ (เมือง และ นิคมคำสร้อย) ประเมินรับรองโดยระดับจังหวัด 1 แห่ง (รพ.สต.ป่าชาด)

จุดเด่น อำเภอที่แม่ข่ายสนับสนุน ให้คำแนะนำ และเป็นพี่เลี้ยง ทั้งในด้านงบประมาณ และวิชาการจะช่วยให้การพัฒนาเป็นไปได้ อย่างรวดเร็วได้คุณภาพตามเกณฑ์ กรรมการประเมินฯระดับจังหวัดมี 1 ทีม ทำให้มาตรฐาน ของการประเมินมีความเที่ยงสูง โอกาสพัฒนา สร้างเวทีคืนข้อมูลให้ชุมชนและภาคีเครือข่าย เพื่อกระตุ้นให้เกิด การมีส่วนร่วมในการพัฒนา

คปสอ. ดอนตาล พชอ.(ดอนตาลน่าอยู่ 5 มิติ) - คณะกรรมการ และภาคีเครือข่ายมีความเข้มแข็ง - มีการกำหนดหน่วยงานเจ้าภาพในการแก้ไขประเด็นปัญหาอำเภอ ได้แก่ สิ่งแวดล้อม มอบ ท้องถิ่นอำเภอและผู้นำจิตอาสา (เน้นสะอาด สวยงาม และปลอดภัย) ถนนตัวอย่างหมู่บ้านละ 1 เส้น สังคม มอบ ปกครองและตำรวจ (เสริมสร้างสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจ+อบายมุข) การศึกษา มอบ อปท และหน่วยงานด้านการศึกษา (IQ, EQ การกีฬา) สุขภาพ มอบ สาธารณสุข (ออกกำลังกาย + มหัศจรรย์ 1000 วันแรก + ผู้สูงอายุ) เศรษฐกิจ มอบ ท้องถิ่น และ เกษตร (สร้างตลาด) - มี พชต.ป่าไร่ ขับเคลื่อนวาระรตำบลและสนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุในกองทุน LTC PCC - แพทย์ FM สหวิชาชีพ และชุมชน ร่วมกันออกแบบระบบริการของ PCC ตามบริบทของพื้นที่ รพ.สต.ติดดาว - มีการประเมิน และวิเคราะห์ตนเองเพื่อหาจุดอ่อน จุดแข็ง ในการนำมาจัดทำแผนในการพัฒนาร่วมกันระดับ CUP

สวัสดี