II-4การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1. แนวทางการรับคำสั่งการใช้ รถ การประกันระยะเวลาการ รับส่งผู้ป่วย 4. ความรู้ความสามารถของ พขร. ในเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย กฎจราจร.
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
1. ดำเนินการตามระเบียบการเงิน / การคลังที่เกี่ยวข้อง 2. ดำเนินการแล้ว เสร็จตามเวลาและ มีระบบป้องกันการสูญหาย 3. การป้องกันการคลาดเคลื่อนจาก การรับ.
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
แนวทางการส่งต่อ ผู้ป่วยอายุรกรรม ติดเชื้อ
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
และความปลอดภัยในโรงพยาบาล
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ
COMPETENCY DICTIONARY
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
โดย ทภ.อำไพ เณรบำรุง. โดย ทภ.อำไพ เณรบำรุง บทคัดย่อ เนื่องจากเครื่องมือที่ใช้ในทางทันตกรรมบางชนิดมีความแหลมคม เช่น เครื่องขูดหินปูน เครื่องมือตกแต่งวัสดุอุดฟัน.
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

II-4การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ พว.วัลลภา ช่างเจรจา 20 ธันวาคม 2561

Slide Title

4.1 ก. การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ ประสานความร่วมมือ ให้ความรู้ ครอบคลุมทุกพื้นที่ วิเคราะห์ความเสี่ยง ออกแบบระบบ กำหนดนโยบาย/แนวปฏิบัติ คณะกรรมการ IC คณะกรรมการ ENV คณะกรรมการ RDU งานอาชีวอนามัย

แนวปฏิบัติ การติดเชื้อเฉพาะตำแหน่ง การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา มาตรการโรคอุบัติใหม่/ อุบัติซ้ำ การป้องกันการติดเชื้อผู้ป่วยภูมิต้านทานต่ำ การป้องกันสัมผัสเลือด/สารคัดหลั่งระหว่างปฏิบัติงาน การรับวัคซีนของบุคลากร

4.1 ข. การเฝ้าระวังและควบคุมการติดเชื้อ วิธีการเฝ้าระวัง Passive surveillance Active surveillance แบบแผนการดื้อยาของเชื้อจุลชีพ ทุกหน่วยเฝ้าระวังการติดเชื้อในผู้ป่วยทุกรายและรายงานการติดเชื้อเมื่อพบโดยรายงานทางโปรแกรม IC BKHos ICN เฝ้าระวังการติดเชื้อเฉพาะตำแหน่ง ในหอผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง งานจุลชีว ต้องมีการรายงานแบบแผนการดื้อยาของเชื้อจุลชีพให้แก่องค์กรแพทย์และผู้เกี่ยวข้องรับราบ

4.1 ข. การเฝ้าระวังและควบคุมการติดเชื้อ การนำผลการเฝ้าระวังไปใช้ หน่วยงานต้องส่งรายงานการเฝ้าระวังให้ถูกต้อง/ทันเวลา จัดทำแนวทางการบ่งชี้การระบาดและนำไปปฏิบัติ วิเคราะห์ผลการติดเชื้อของหน่วยงานและมีการปรับปรุงวิธีการปฏิบัติเพื่อป้องกันการติดเชื้อในหน่วยงาน คณะกรรมการ IC จัดทำแนวทางและดำเนินการควบคุมเมื่อมีการระบาดเกิดขึ้น ร่วมกับงานระบาดพร้อมทั้งสื่อสารข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

4.2 การปฏิบัติเพื่อป้องกันการติดเชื้อ ก. การป้องกันการติดเชื้อทั่วไป Standard precaution/ Isolation precaution การทำความสะอาด ทำลายเชื้อ/ปราศจากเชื้อ การ reprocess กล้องส่องอวัยวะต่างๆ การนำอุปกณ์การแพทย์ใช้แล้วทิ้งกลับมาใช้ใหม่ ควบคุมสภาพแวดล้อมโดยใช้วิธีการที่เหมาะสม ประเมินความเสี่ยงในการติดเชื้อ/ผลกระทบจากการก่อสร้าง แยกบริเวณใช้งานที่สะอาดจากบริเวณปนเปื้อน ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อในหน่วยงานที่สำคัญ

Standard Precautions เป็นวิธีป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคในผู้ป่วยทุกรายโดยให้คำนึงว่าผู้ป่วยทุกรายอาจจะมีเชื้อโรคที่ สามารถติดต่อได้

Standard Precautions 1. Hand Hygiene 2. Personal protective equipment (PPE) 3. มีมาตรการป้องกันการแพร่กระจายในผู้ป่วยที่มี โรคระบบทางเดินหายใจ : สวมผ้าปิดปากและจมูก 4. การแยกผู้ป่วย

Standard Precautions 5. การทำลายเชื้อและทำให้ปราศจากเชื้อ 6. การควบคุมสิ่งแวดล้อม 7. การจัดการผ้าเปื้อน 8. การป้องกันการเกิดอุบัติเหตุสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่ง 9. การจัดการขยะ

4.2 ข.การป้องกันการติดเชื้อเฉพาะกลุ่ม ลดความเสี่ยงของการติดเชื้อ ที่สำคัญ -SSI -VAP -BSI -CA-UTI มีระเบียบปฏิบัติ -ผู้ป่วยภูมิต้านทานต่ำ -ผู้ป่วยติดเชื้อที่ติดต่อทางโลหิต -ดื้อยา -อุบัติใหม่ flowการดูแลบุคลากร -สัมผัสเลือด/สารคัดหลั่ง -เจ็บป่วยจากการทำงาน -มาตรการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากเจ้าหน้าที่ที่ติดเชื้อ