โดย นางสาวนริสรา ลอยฟ้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
Advertisements

ชื่อผู้วิจัย นางดวงใจ สารภี อาจารย์กลุ่มวิชาบัญชี
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่


นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาสถิติเบื้องต้นเรื่องทฤษฎีความน่าจะเป็น เบื้องต้น Development of Computer Assisted Instruction for Introduction to.
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจทั่วไป
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน

นำเสนอโดย นางสาวพัชรี นาคทอง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาสื่อการสอนเรื่องวงกลม โดยใช้ โปรแกรม The Geometer’ s Sketchpad (GSP) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 ผู้วิจัย นางสาวอังสนา อุตมูล.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นางสาวนริสรา ลอยฟ้า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลสำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี โดย นางสาวนริสรา ลอยฟ้า ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ รศ.ดร.รวีวรรณ ชินะตระกูล ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม รศ.พีระวุฒิ สุวรรณจันทร์

บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 3 สมมติฐานการวิจัย 4 4 กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย 5 5 ขอบเขตของการวิจัย 6 6 นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจัย 7

1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาที่ค่อนข้างยาก ผู้เรียนไม่สามารถทำความเข้าใจเนื้อหาได้ ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่าย ไม่อยากเรียนในบทที่ต้องใช้เวลาอธิบายนาน เพราะยากแก่การจดจำ ผู้เรียนทำคะแนนได้ไม่ดีเท่าที่ควรจากที่ผ่านมาในเรื่องของการสร้างโมเดลความสัมพันธ์

1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อทบทวนที่มีคุณภาพ เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน

1.3 สมมติฐานของการวิจัย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน มีคุณภาพอยู่ในระดับดีขึ้นไป บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ E1/E2 ไม่ต่ำกว่า 80/80 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน

1.4 กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย กรอบแนวคิดในการออกแบบบทเรียน 1. เร่งเร้าความสนใจ 2. บอกวัตถุประสงค์ 3. ทบทวนความรู้เดิม 4. การเสนอเนื้อหาใหม่ 5. ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้ 6. กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน 7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ 8. ทดสอบความรู้ใหม่

กรอบแนวคิดในการพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 1. ขั้นการวิเคราะห์ 2. ขั้นการออกแบบ 3. ขั้นการพัฒนา 4. ขั้นการนำไปใช้ 5. ขั้นการประเมินผล

แนวคิดในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1. ความรู้ ความจำ 2. ความเข้าใจ

เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย 1.5 ขอบเขตของการวิจัย ประชากร กลุ่มตัวอย่าง ตัวแปรที่ศึกษา เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี รวม 2 ห้องเรียน จำนวน 65 คน กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ได้เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการ สุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) ด้วยวิธีจับสลากมา 1 ห้องเรียน จำนวน 35 คน

ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน ตัวแปรต้น บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน ตัวแปรตาม ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อทบทวน ตัวแปรต้น การเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล(ER-DIAGRAM) การแปลง E-R MODEL ให้อยู่ในรูปแบบโครงสร้างฐานข้อมูล แนวคิดเกี่ยวกับ ER-DIAGRAM เอนทิตี้ การระบุตำแหน่งความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ แอทริบิวท์ ความสัมพันธ์

1.6 นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจัย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การทบทวน อินเทอร์เน็ต นักศึกษา

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คุณภาพของบทเรียน

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1 วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ 2 การสอนทบทวนความรู้ 3 ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต 4 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 5 หลักการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 6

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6 การประเมินผลบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 7 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5 6

บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย 1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3 การเก็บรวบรวมข้อมูล 4 การวิเคราะห์ข้อมูล

3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี รวม 2 ห้องเรียน จำนวน 65 คน กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ได้เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) ด้วยวิธีจับสลากมา 1 ห้องเรียน จำนวน 35 คน

3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน

3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล เข้าเรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน ดำเนินการทดลองเรียนกับนักศึกษาที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ให้ผู้เรียนศึกษารายละเอียด ข้อควรปฏิบัติในการเรียนบทเรียน และแบบทดสอบก่อนเรียน ทำการทดสอบหลังเรียน

3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล การหาคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน 1 การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน 2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียน 3

การหาค่าสถิติพื้นฐาน การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต การหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

การหาประสิทธิภาพระหว่างเรียน การหาประสิทธิภาพหลังเรียน การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน การหาประสิทธิภาพระหว่างเรียน การหาประสิทธิภาพหลังเรียน E1 คือคะแนนเฉลี่ยร้อยละที่นักเรียนทำแบบฝึกหัดระหว่างเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ถูกต้อง E2 คือคะแนนเฉลี่ยร้อยละที่นักเรียนทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาการเรียนหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ถูกต้อง คือคะแนนรวมของนักเรียนจากการทำแบบฝึกหัดระหว่างเรียนในหน่วยย่อย คือคะแนนรวมของนักเรียนจากการทำแบบฝึกหัดแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน A คือคะแนนเต็มของแบบฝึกหัดในหน่วยย่อย Bคือคะแนนเต็มของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน Nคือจำนวนนักเรียน

การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียน t คือ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน และหลังเรียน คือค่าเฉลี่ยของคะแนนผลต่างระหว่างหลัง เรียนกับก่อนเรียน t= = คือค่าความแปรปรวนของคะแนนผลต่าง =

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน 1 ผลการประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน 2

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน 3 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียน 4

4.1 ผลการสร้างบทเรียน ได้บทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล โดยสามารถเข้าสู่บทเรียนได้ที่ URL ชื่อ http://ba.cit.ac.th/wbi_erdiagrame

4.1 ผลการสร้างบทเรียน บทเรียนมีลักษณะ ดังนี้ -การออกแบบการจัดวางรูปแบบข้อความได้เหมาะสม -การใช้รูปภาพในการสื่อความหมายเพื่อความเข้าใจในบทเรียนได้ง่าย -มีภาพเคลื่อนไหวและเสียงประกอบบทเรียนทำให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ -มีการโต้ตอบกับผู้ใช้งาน -ผู้เรียนสามารถตั้งกระทู้เพื่อโต้ตอบคำถามและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ -บทเรียนสามารถเชื่อมโยงไปยังบทเรียนต่างๆได้อย่างสะดวก

4.1 ผลการสร้างบทเรียน ผู้เรียนสามารถประเมินผลการเรียนด้วยตนเองได้ - ผู้สอนสามารถเข้าระบบเพื่อดูผลการเรียนของผู้เรียนได้ผ่านทางเมนูผู้ดูแลระบบ อีกทั้งผู้สอนยังสามารถลบกระทู้ที่ไม่สมควรหรือไม่เหมาะสมออกจากระบบ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการติดตามข้อมูลของผู้เรียนได้

4.2 ผลการประเมินคุณภาพ พบว่า คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวนด้านเนื้อหา ได้ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.50 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.51 ซึ่งอยู่ในระดับดีมาก พบว่า คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวนด้านเทคนิคการผลิตสื่อ ได้ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.16 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.74 ซึ่งอยู่ในระดับดี

4.2 ผลการประเมินคุณภาพ ผลการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิทั้งทางด้านเนื้อหา และทางด้านเทคนิคการผลิตสื่อ มีคุณภาพในระดับดีมากและดีตามลำดับ ซึ่งสรุปได้ว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล ที่ผู้วิจัยได้พัฒนามีคุณภาพตามเกณฑ์การประเมินคือค่าเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.50 ทุกรายการประเมิน ดังนั้นจึงสามารถนำไปใช้ประกอบการสอนได้

ประสิทธิภาพของบทเรียน 4.3 ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียน ผลการทดลอง จำนวน นักเรียน คะแนน ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ประสิทธิภาพของบทเรียน (E1/ E2) คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ ที่คำนวณได้ ที่กำหนดไว้ใน สมมติฐาน คะแนนแบบฝึกหัดระหว่างเรียน 35 30 26.39 87.97 87.97/87.28 ไม่น้อยกว่า 80/80 คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน 40 34.91 87.28 พบว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลมีประสิทธิภาพ 87.97/87.28 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนดไว้และเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย

4.4 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การทดสอบ n S.D. t Sig ก่อนเรียน 35 13.03 2.93 53.99* 0.00 หลังเรียน 34.91 1.67 * p < .05 จากตาราง พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวนวิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

สรุปผลการวิจัย 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล มีคุณภาพด้านเนื้อหาอยู่ในระดับดีมาก( =4.50) และคุณภาพด้านเทคนิคการผลิตสื่ออยู่ในระดับดี( =4.16) 2 2. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล มีประสิทธิภาพ E1/E2 = 87.97/87.28 ซึ่งไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ 80/80 และเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้

สรุปผลการวิจัย 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่ระดับ .05 เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 2

อภิปรายผลการวิจัย ด้านการหาคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน 1 ด้านการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน 2 ด้านการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน 3

ด้านการหาคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน พบว่า คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวนอยู่ในระดับดีมาก (ค่าเฉลี่ยคือ 4.50)เนื่องจากในการพัฒนาบทเรียน ผู้วิจัยได้วิเคราะห์หลักสูตร และเนื้อหาการเรียนรู้ โดยศึกษาเนื้อหาที่ใช้ในบทเรียน แล้วทำการวิเคราะห์แบ่งเนื้อหาเป็นหน่วยการเรียนรู้ และกำหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม จึงทำให้บทเรียนมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์

ด้านการหาคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน คุณภาพด้านเทคนิคการผลิตสื่ออยู่ในระดับดี ( ค่าเฉลี่ยคือ 4.16) เนื่องจากผู้วิจัยได้ศึกษาหลักและทฤษฎีในการพัฒนาระบบการเรียนการสอนการออกแบบบทเรียนตามกรอบแนวคิดของอนุชัย ธีระเรืองไชยศรี พร้อมทั้งได้คำแนะนำจากผู้ทรงคุณวุฒิ จึงทำให้คุณภาพอยู่ในระดับดี จากผลการประเมินสอดคล้องกับงานวิจัยของ สรชาต ปรางค์น้อย ซึ่งทำการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ 1 เรื่อง หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรมเบื้องต้น สำหรับผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนควนขนุน จังหวัดพัทลุง ผลของการหาคุณภาพด้านเนื้อหาอยู่ในระดับดีมาก ( ค่าเฉลี่ยคือ 4.57) และด้านเทคนิคการผลิตสื่ออยู่ในระดับดี (ค่าเฉลี่ยคือ 4.42)

ด้านการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวนวิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล มีประสิทธิภาพ E1/E2 =87.97/87.28 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่เป็นเช่นนั้นอาจเนื่องมาจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นนั้นผ่านขั้นตอนในการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ซึ่งประกอบด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งผลจากการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิด้านเนื้อหามีคุณภาพดีมาก (ค่าเฉลี่ย=4.50 )และทางด้านเทคนิคการผลิตสื่อมีคุณภาพดี(ค่าเฉลี่ย=4.16)

และแบบทดสอบเพื่อวัดประสิทธิภาพในการเรียน โดยใช้ข้อสอบที่ผ่านการประเมินหาค่า IOC จำนวน 40 ข้อ ซึ่งข้อสอบมีค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.26-0.83 ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.30-0.79 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.82 และมีการตรวจสอบความบกพร่องของบทเรียนโดยผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อนำข้อบกพร่องมาเป็นข้อมูลสำหรับการแก้ไขปรับปรุงบทเรียนให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น และได้นำไปใช้กับกลุ่มทดลองที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง การทดลองใช้ในขั้นหนึ่งต่อหนึ่ง การทดลองใช้ในขั้นทดลองกับกลุ่มเล็ก ซึ่งผู้วิจัยได้นำข้อเสนอแนะมาปรับปรุงแก้ไขบทเรียน จนทำให้บทเรียนมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด และได้นำบทเรียนไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่ได้เลือกไว้แล้วจำนวน 35 คน

ด้านการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 การที่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียน เป็นเพราะว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ผ่านขั้นตอนกระบวนการสร้างและพัฒนาให้มีคุณภาพอย่างมีระบบ ส่งผลให้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ

ด้านการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิชุดา คำมะสิงห์ ซึ่งทำการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อการทบทวน วิชาการเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 2 สาขางานเทคโนโลยีสำนักงาน สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิชาบริหารธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษาฉะเชิงเทรา มีคุณภาพด้านเนื้อหาอยู่ในระดับดีมาก ( ค่าเฉลี่ย คือ4.58) และด้านเทคนิคการผลิตสื่ออยู่ในระดับดีมาก ( ค่าเฉลี่ย คือ4.50) มีประสิทธิภาพ E1/E2 = 82.33/85.43 และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะเพื่อการนำผลการวิจัยไปใช้ ผู้สอนสามารถนำบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวนไปใช้สอนในห้องเรียนปกติซึ่งจะทำให้ผู้เรียนมีความรู้ และความเข้าใจในเนื้อหาได้ดียิ่งขี้น ทำให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นและมีความสนใจและช่วยเสริมสร้างบรรยากาศในการเรียนการสอนได้ดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เพื่อทบทวนได้ด้วยตนเองเพื่อความรู้โดยไม่จำกัดเวลา และสถานที่ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจมากยิ่งขึ้น

ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะเพื่อการทำวิจัยต่อไป ควรมีการสร้างและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตวิชาอื่นๆ เพื่อส่งเสริมในด้านการศึกษาแก่ผู้เรียนต่อไป ควรมีการสร้างและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ซึ่งอาจจะพัฒนาในด้านของสถานการณ์จำลอง หรือในรูปแบบเกมการแข่งขัน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและเกิดองค์ความรู้มากยิ่งขึ้น

ตัวอย่างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล

ตัวอย่างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

ตัวอย่างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

ขอขอบพระคุณคณะกรรมการทุกท่านค่ะ จบการนำเสนอ ขอขอบพระคุณคณะกรรมการทุกท่านค่ะ