การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
Advertisements

แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ณ 31 พฤษภาคม
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
กิจกรร ม 1 กิจกรร ม 3 กิจกรร ม 2 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมแผนผลร้อยละ 1. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ.
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
ปรับโครงสร้างการผลิตข้าว
ขยายโอกาสสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวน ยุทธศาสตร์จังหวัด จังหวัดบึง กาฬ 1.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
1.กิจกรรมสร้างการรับรู้ เนื้อหา :  สร้างการรับรู้เรื่องสถานการณ์น้ำในพื้นที่แต่ละจังหวัด  รายงานความเคลื่อนไหวการเตรียมรับมือสถานการณ์  รณรงค์การใช้น้ำอย่างประหยัด.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
สถานการณ์ผลิต พื้นที่ปลูกลดลงทุกปี ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
กลุ่มเกษตรกร.
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
จังหวัด พะเยา การวิเคราะห์ข้อมูล ข้าวหอมมะลิปลอดภัย/GAP
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่อง ข้าว
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว (Rice Analysis)
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ข้อมูลนำเสนอโครงการ ประจำปีงบประมาณ 2562
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงฯ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่โดยชู
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ (Rice Analysis) เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ จังหวัดยโสธร

ข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญอันดับ 1 พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ปี 2556-2557 2556 2557 พื้นที่ปลูก (ไร่) ผลผลิตรวม (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) ข้าวเจ้า 1,242,932 532,282 5,421.50 1,213,891 487,496 4,965.34 มันสำปะหลัง 116,393 502,236 943.20 105,713 288,866 542.49 ยางพารา 115,050 8,418 488.00 115,850 16,267 943.01 ข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญอันดับ 1

ยโสธร “เมืองแห่งวิถีอีสาน เกษตรอินทรีย์ก้าวไกลสู่สากล” เป้าประสงค์รวม  ผลิตภัณฑ์ ชุมชน ข้าวอินทรีย์  การปลูก ข้าวหอมมะลิอินทรีย์ 1.ผลิตภัณฑ์มวลรวม ของจังหวัด(GPP)เพิ่มขึ้น 2.ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ตามเกณฑ์เพิ่มขึ้น ประเด็นยุทธศาสตร์ : ส่งเสริมการเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ครบวงจร เป้าประสงค์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ : รายได้จากการขายสินค้าเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น

ปัญหาที่สำคัญในปัจจุบัน ข้าวหอมมะลิอินทรีย์ VC1 วิจัยและพัฒนา VC2 ปัจจัยพื้นฐานและการพัฒนาเกษตรกร VC3 การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และ ลดต้นทุน VC4 การแปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่ม VC5 การขนส่ง และบริหารจัดการ สินค้า (Logistics) VC6 การพัฒนา ระบบการตลาด CSF1.1 การ วิจัยและ พัฒนาพันธุ์ ข้าวหอมมะลิที่ ดีและเหมาะสม กับพื้นที่ CSF1.2 การ จัดทำข้อมูล ต้นทุนการ ผลิต CSF1.3 การ วิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อเพิ่ม ผลผลิต CSF1.4 การ วิเคราะห์ความ ต้องการของ ตลาดและ แนวโน้ม สถานการณ์ ข้าวหอมมะลิ ทั้งในและ ต่างประเทศ CSF2.1 การ บริหารจัดการน้ำ เพื่อการเพาะปลูก CSF2.2 การ บริหารจัดการ การ ใช้ที่ดิน (Zoning) CSF2.3 การจัดหา และกระจายพันธุ์ ข้าวที่ดีให้ เกษตรกร CSF2.4 การ เตรียมพื้นที่ เพาะปลูก และ ปรับปรุงคุณภาพ ดิน CSF2.5 การ รวมกลุ่มเกษตรกร และสร้างเครือข่าย CSF2.6 การสร้าง องค์ความรู้และขีด ความสามารถให้ เกษตรกร CSF2.7 มี เครือข่ายสถาบัน การเงิน/กองทุนเพื่อ ช่วยเหลือด้าน การเงินให้ เกษตรกร CSF3.1 ส่งเสริม ระบบ การผลิตที่ ดีและเหมาะสม (GAP) CSF3.2 การใส่ ปุ๋ย การใช้ สารเคมี และการ กำจัด ศัตรูพืช CSF3.3 เกษตรกรมีแผน การผลิตและ แผนการ เก็บ เกี่ยวที่เหมาะสม (Crop Planning) CSF3.4 การเพิ่ม ผลิตภาพการ ปลูกข้าว CSF4.1 การ ส่งเสริม มาตรฐานการ ผลิตเกษตร อุตสาหกรรม (GMP) CSF4.2 สนับสนุนให้นำ ระบบเกษตรวัสดุ เหลือใช้ (Zero Waste) มา ปฏิบัติ CSF4.3 ส่งเสริมการแปร รูปเพื่อสร้าง มูลค่าเพิ่ม CSF5.1 มีระบบ การขนส่งและ กระจายสินค้าที่ ปลอดภัยและมี มาตรฐาน CSF5.2 เพิ่ม ประสิทธิภาพ และลดต้นทุน การขนส่ง CSF6.1 พัฒนา ตลาดกลางและ ศูนย์จำหน่าย สินค้า CSF6.2 ประชาสัมพันธ์ และส่งเสริมการ ขายตาม แผนการผลิต และแผนการเก็บ เกี่ยว CSF6.3 สร้าง เครือข่ายความ ร่วมมือในการ ส่งเสริม การตลาด วิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหาที่สำคัญในปัจจุบัน

การวิเคราะห์ข้อมูล เรื่องข้าวหอมมะลิอินทรีย์ เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ 1 จำนวนกลุ่มเกษตรกรและจำนวนสมาชิก/ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของกลุ่มเกษตรกรและจำนวนสมาชิก 2 เนื้อที่เพาะปลูก/ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของเนื้อที่เพาะปลูก 3 ปริมาณและมูลค่าผลผลิต/ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ 4 จำนวนผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมที่แปรรูปผลผลิตทางการเกษตรในรูปแบบต่างๆ จำแนกตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ และประเภทผู้ประกอบการ 5 จำนวนผลิตภัณฑ์ในภาคอุสาหรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรในรูปแบบต่างๆ จำแนกตามประเภท/หมวดผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 6 ต้นทุนการผลิตเฉลี่ยต่อไร่ 7 การมีการใช้เครื่องมือเครื่องจักรเทคโนโลยีเพื่อการผลิต 8 องค์ความรู้ในด้านการบริหารจัดการกลุ่ม

การวิเคราะห์ข้อมูล เรื่องข้าวหอมมะลิอินทรีย์ เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์

การวิเคราะห์ข้อมูล เรื่องข้าวหอมมะลิอินทรีย์ เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์

การวิเคราะห์ข้อมูล เรื่องข้าวหอมมะลิอินทรีย์ เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ นค้าเพื่อส่งออก พ.ศ. ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดยโสธร จาก พ.ศ. 2553 – 2557 เนื้อที่และผลผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น ซึ่งแกนนำกลุ่มเกษตรอินทรีย์ให้ข้อมูลว่าผลผลิตข้าวสารแปรรูปหอมมะลิอินทรีย์ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกส่งออกไปยังต่างประเทศ

เปรียบเทียบราคาจำหน่ายโดยประมาณ แนวโน้มการจำหน่ายข้าวหอมมะลิอินทรีย์ เปรียบเทียบราคาจำหน่ายโดยประมาณ ข้าวเปลือก ข้าวสาร หอมมะลิทั่วไป 10-12 30-40 ข้าวหอมมะลิอินทรีย์ 17-20 50 - 70 ราคาจำหน่ายข้าวหอมมะลิอินทรีย์ พบว่า มีราคาที่สูงกว่าข้าวหอมมะลิทั่วไป แสดงให้เห็นถึงการปลูกข้าวหอมมะลิอินทรีย์สามารถเพิ่มมูลค่าต่อหน่วยของการผลิตข้าวได้อย่างชัดเจน ซึ่งรายได้การจำหน่ายในแต่ละปีมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงขึ้น

ตัวอย่างการจัดโซนนิ่งการปลูกพืชขนิดต่างๆ จังหวัดยโสธรมีการจัดโซนนิ่งเพื่อจัดระดับความเหมาะสมของของพื้นที่ปลูกข้าว ซึ่งมีประโยชน์ต่อการส่งเสริมของหน่วยงานต่าง ๆ ซึ่งคุณภาพของดินจะต้องควบคู่กันไปกับ แหล่งนำเพื่อการเกษตรด้วย แต่พบว่า การปลูกข้าวหอมมะลิอินทรีย์จะใช้นำฝนเป็นส่วนใหญ่ โดยจะไม่ใช้น้ำจากแหล่งน้ำที่เห็นว่ามีสารเคมีปนเปื้อนยู่ รวมทั้งน้ำจากระบบชลประทานด้วย การขุดสระน้ำขนาดเล็กจะช่วยแก้ไขปัญหาจากภัยแล้งได้ในระยะสั้นๆ

กลุ่มเกษตรอินทรีย์ในจังหวัดยโสธร สมาชิก มาตรฐาน การแปรรูป การจำหน่าย การบริหารจัดการ 1.กลุ่มเกษตรกรทำนานาโส่ 228 มกท/IF  2.กลุ่มเกษตรกรทำนาบากเรือ 112 มกท 3.กลุ่มข้าวคุณค่า ชาวนาคุณธรรม 95 4.กลุ่มเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนเกษตรกรรมยั่งยืนน้ำอ้อม 656 มกท/BCS 5.กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรกรรมธรรมชาติหนองยอ 47 - 6.กลุ่มวิสาหกิจผู้ผลิตข้าวอินทรีย์เพื่อสังคมบ้านโนนยาง 68 7.กลุ่มสหกรณ์เกษตรอินทรีย์เลิงนกทา-ไทยเจริญ จำกัด 57 8.กลุ่มเกษตรอินทรีย์โคกก่อง-หนองเลิงคำ 21 9.กลุ่มทีสำนักงานเกษตรจังหวัดยโสธรส่งเสริม 1,057 กรมการข้าว กลุ่มเกษตรอินทรีย์ในจังหวัดยโสธร ที่ได้รับการตรวจรับรองมาตรฐาน มีทั้งสิ้น 9 กลุ่ม ส่วนใหญ่เป็นมาตรฐานของ มกท และพบว่ามี 2 กลุ่ม ที่มีปัญหาอุปสรรคในการแปรรูป คือ ยังขาดเครื่องมือเครื่องจักร เช่น โรงสีข้าว ยุ้งฉางเก็บรวบรวมผลผลิต ซึ่งนำไปจำหน่ายให้กับโรงสีทั่วไปในราคาที่ไม่แตกต่างจากข้าวทั่วไป และพบว่า กลุ่มจำนวนเกินครึ่ง ยังไม่สามารถบริหารจัดการกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การจัดทำระบบบัญชี ระบบฐานข้อมูลในการบริหารจัดการ ซึ่งจะมีขนาดกลุ่มค่อนข้างเล็ก กำลังในการลงทุนค่อนข้างต่ำ ขาดสภาพคล่องทางการเงิน ทำให้มองเห็นถึงความไม่เข็มแข็งของกลุ่ม ซึ่งถือเป็นปัญหาอุปสรรคอย่างยิ่งต่อการทำการเกษตรกรอินทรีย์ของจังหวัดยโสธรในปัจจุบัน

โครงการสำคัญ / มาตรการ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือโครงการสำคัญ (Flagship Project) สรุปประเด็นสำคัญต่อยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) (การวิเคราะห์ข้อมูล Step 2) โครงการสำคัญ / มาตรการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : ส่งเสริมการเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ครบวงจร โครงการส่งเสริมการแปรรูปเกษตรอินทรีย์ โครงการส่งเสริมสร้างความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรอินทรีย์

เสนอกรอบแนวคิดโครงการสำคัญ (Project Idea) โครงการส่งเสริมการแปรรูปเกษตรอินทรีย์ วัตถุประสงค์/ เป้าหมาย 1. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวหอมมะลิอินทรีย์ ให้ได้มาตรฐาน กิจกรรม หรือ แนวทางโครงการ 1. ส่งเสริมและให้ความรู้การแปรรูป/การบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์จากข้าวหอมมะลิอินทรีย์ให้ได้มาตรฐาน เช่น การจัดฝึกอบรมให้ความรู้ให้กับกลุ่มเกษตรอินทรีย์ 2. ส่งเสริมการนำเทคโนโลยีด้านแปรรูปเกษตรมาใช้ในการแปรรูปข้าวหอมมะลิอินทรีย์ เช่น สนับสนุนโรงสีข้าวกลุ่มเกษตรอินทรีย์ และเครื่องบรรจุภัณฑ์

กรอบแนวคิดโครงการสำคัญ (Project Idea) โครงการส่งเสริมสร้างความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรอินทรีย์ วัตถุประสงค์/ เป้าหมาย 1. เพื่อให้กลุ่มเกษตรอินทรีย์มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำระบบฐานข้อมูล เพื่อให้ผ่านมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 2. เพื่อให้กลุ่มเกษตรอินทรีย์สามารถจัดทำระบบบัญชี/ระบบข้อมูล เพื่อการบริหารงานของกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ กิจกรรม หรือ แนวทางโครงการ 1. ส่งเสริมการจัดทำระบบฐานข้อมูล เพื่อการตรวจรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 2. ส่งเสริมการจัดทำระบบบัญชี/ระบบข้อมูล เพื่อการบริหารงานกลุ่มเกษตรอินทรีย์

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย จังหวัดได้กำหนดตำแหน่งการพัฒนา (Positioning) เป็นเมืองเกษตรอินทรีย์ กำหนดแนวทางการพัฒนาเป็น “ยุทธศาสตร์ไข่ดาว” มีกลยุทธ์บันได 3 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 : ส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิเตรียม GAP (ระยะปรับเปลี่ยน) เพิ่มพื้นที่ร้อยละ 20/ปี ขั้นที่ 2 : ส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิ GAP (ไข่ขาว/กำหนด Zoning) เพิ่มพื้นที่ ร้อยละ 20/ปี และขั้นที่ 3 : ส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ (ไข่แดง/กำหนด Zoning) เพิ่มพื้นที่ร้อยละ 10/ปี ซึ่งมีข้อมูลเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ทั้งที่แสดงให้เห็นว่าเป็นโอกาส และเป็นปัญหาอุปสรรค เช่น ตลาดมีความต้องการข้าวหอมะลิอินทรีย์เป็นจำนวนมาก เป็นโอกาสที่จะทำให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น แต่ก็ยังมีสิ่งที่เป็นปัญหาอุปสรรคอยู่ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดในเรื่องที่เกี่ยวข้องต่อไป

ขอบคุณครับ