งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่อง ข้าว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่อง ข้าว"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่อง ข้าว
(Rice Analysis) โครงการส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตต่อไร่ สำนักงานสถิติแห่งชาติ จังหวัดบุรีรัมย์

2 บุรีรัมย์ ประเด็นยุทธศาสตร์
เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการเกษตรปลอดภัยเพื่อสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์ ๑. ส่งเสริมการจัดทำ Zoning การผลิตสินค้าเกษตร ๒. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตร ๓. ส่งเสริมและพัฒนาการผลิต การแปรรูป การตลาดสินค้าเกษตรปลอดภัย ๔. พัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพแรงงานภาคเกษตร กลุ่มอาชีพ และวิสาหกิจชุมชน

3 เนื้อที่ปลูกข้าวนาปี กลุ่มจังหวัด นครชัยบุรินทร์
หน่วย :ไร่ ปีเพาะปลูก ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร จังหวัดบุรีรัมย์ ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพทำนาข้าว ซึ่งนับว่าเป็นอาชีพที่สร้างรายได้ให้แก่จังหวัดมากที่สุด และเป็นจังหวัดที่มีเนื้อที่เพาะปลูกข้าวมากเป็นอันดับ 3 ของกลุ่มจังหวัดนครชัยบุรินทร์ แต่มีแนวโน้มการเพาะปลูกลดลง

4 ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
จังหวัด ผลผลิตข้าวนาปี(ตัน) 2552/2553 2553/2554 2554/2555 2555/2556 2556/2557 นครราชสีมา 939,810 1,006,952 1,431,024 1,070,390 1,067,623 ชัยภูมิ 392,022 466,982 500,819 588,561 509,319 บุรีรัมย์ 888,811 1,187,300 1,114,215 996,975 925,379 สุรินทร์ 1,065,103 1,214,083 1,158,148 1,093,665 1,130,219 ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร จังหวัดบุรีรัมย์ ผลผลิตข้าวมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากมีการเพาะปลูกข้าวลดลง และเกษตรกรได้ทำการเกษตรชนิดอื่นๆ เพิ่มขึ้นเช่น ปลูกยางพารา ปลูกอ้อย ฯลฯ แต่ยังมีผลผลิตเป็นอันดับ 3 ของกลุ่มจังหวัด

5 ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
จังหวัด ปีเพาะปลูก 2552/2553 2553/2554 2554/2555 2555/2556 2556/2557 นครราชสีมา 288 259 368 280 300 ชัยภูมิ 286 264 291 344 315 บุรีรัมย์ 325 369 359 326 338 สุรินทร์ 360 374 351 340 356 ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร จังหวัดบุรีรัมย์ อัตราผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของข้าวนาปี มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แสดงว่ามีการพัฒนาพื้นที่ทำนาข้าวให้มีคุณภาพดีขึ้น และมีอัตราผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่สูงเป็นอัน 2 ของกลุ่มจังหวัด

6 บุรีรัมย์ ข้าวหอมมะลิปลอดภัย ประเด็นยุทธศาสตร์
การพัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัย การวิจัยและพัฒนา(R&D)และโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนา เกษตรกรและ สถาบันเกษตรกร การแปรรูป และสร้าง มูลค่าเพิ่ม การขนส่งสินค้าและ จัดการบริหาร สินค้า (Logistics) พัฒนาระบบการตลาด การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน มีการวิจัยและ พัฒนาพันธุ์ข้าวที่ เหมาะสมและเป็น แหล่งผลิตพันธุ์ ข้าวคุณภาพดีและ ทนต่อโรค วิจัยความต้องการ ข้าว หอม มะลิปลอดภัยของ ตลาดภายใน ประเทศและ ต่างประเทศ พัฒนาปัจจัยการ ผลิตที่มีความ ปลอดภัยจากการ ใช้สารเคมี การ บริหารระบบ นิเวศน์ในนาข้าว การพัฒนา ดัดแปลงและ เลือกใช้เทคโนโลยี ที่ทันสมัยและ เหมาะสมกับการ ผลิตข้าวหอมมะลิ ทั้งกระบวนการ การส่งเสริมการ ผลิตข้าวหอมมะลิ ปลอดภัย สนับสนุน เกษตรกรในระบบ การผลิตข้าวหอม มะลิปลอดภัยที่ได้ มาตรฐานอย่าง ต่อเนื่อง เกษตรกรมี แผนการผลิต และแผนการเก็บ เกี่ยวที่เหมาะสม (Crop Zoning and planning) เกษตรกรมี ความสามารถใน การจัดการวัตถุดิบ เหลือใช้จากการ ปลูกข้าวปลอดภัย ให้เกิดประโยชน์ ส่งเสริมการ รวมกลุ่มสหกรณ์ การเกษตร กลุ่ม เกษตรกร หรือ กลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน เพื่อ ถ่ายทอดความรู้ ด้านการบริหาร จัดการธุรกิจ การเกษตรตาม หลักเศรษฐกิจ พอเพียง พัฒนาให้เป็นศูนย์ การเรียนรู้และการ ถ่ายทอด เทคโนโลยีการ ผลิตข้าวหอมมะลิ ปลอดภัยทั้ง กระบวนการ มีเครือข่ายสถาบัน การเงิน/กองทุน เพื่อช่วยเหลือด้าน การเงินให้ เกษตรกรที่ปลูก ข้าวหอมมะลิ ปลอดภัย โรงสีชุมชน โรงสี สหกรณ์มีจำนวน เพียงพอและได้รับ การเตรียมความ พร้อมเข้าสู่ มาตรฐานสำหรับ การสีข้าวหอมมะลิ ปลอดภัย ใช้เทคโนโลยีเพื่อ รักษาคุณภาพข้าว หอมมะลิปลอดภัย หลังการเก็บเกี่ยว ผลผลิตข้าวสารหอม มะลิปลอดภัยได้รับ การรับรอง มาตรฐาน GAP/ GMP/ HACCP เทคโนโลยีการ บรรจุหีบห่อเพื่อ รักษาคุณภาพและ ยืดอายุข้าวหอมมะลิ ปลอดภัย การแปรรูปสินค้าให้ มีมูลค่าเพิ่มขึ้น (Value Creation) ส่งเสริมศูนย์ รวบรวมและ กระจายสินค้าข้าว หอมมะลิปลอดภัย ในระดับจังหวัด และระดับกลุ่ม จังหวัด การใช้ระบบการ ขนส่งที่เหมาะสมมี คุณภาพและมี ประสิทธิภาพ มีระบบตลาดกลาง สินค้าข้าวหอมมะลิ ปลอดภัยที่ได้ มาตรฐาน มีระบบตลาดซื้อ ขายข้าวหอมมะลิ ปลอดภัยล่วงหน้า มีการ ประชาสัมพันธ์และ การส่งเสริมการ ขายที่เหมาะสมกับ แผนการผลิตและ แผนการเก็บเกี่ยว การจัดการข้อมูล การตลาด(Market Intelligence Unit) อย่างมี ประสิทธิภาพ พัฒนาขีด ความสามารถใน การแข่งขันทาง การตลาด มีตราสัญลักษณ์ บรรจุภัณฑ์ข้าว หอมมะลิปลอดภัย เป็นเอกลักษณ์ของ จังหวัด

7 ตารางการติดตามรายการผังสถิติทางการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ พัฒนาเป็นสินค้าเกษตรปลอดภัย(ข้าวหอมมะลิปลอดภัย) และปัจจัยความสำเร็จ (CSFs) ตัวชี้วัด รายการสถิติทางการ ลักษณะของข้อมูล ฐานข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ของข้อมูล ผู้รับผิดชอบ VC 1. การวิจัยและพัฒนา(R&D)และโครงสร้างพื้นฐาน CSF1 การวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมและเป็นแหล่งผลิตพันธุ์ข้าวคุณภาพดีและทนต่อโรค KPI1.1 จำนวนเกษตรกรในจังหวัดที่ปลูกข้าวพันธุ์คุณภาพดีและทนต่อโรค 1.1.1 ชนิดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีและทนต่อโรคที่เกษตรกรในจังหวัดใช้เพาะปลูก ไม่มี ศูนย์วิจัยข้าวนครราชสีมา/สำนักงานเกษตรจังหวัด KPI1.2 จำนวนเกษตรกรที่นำผลการวิจัยพันธุ์ข้าวคุณภาพดีไปใช้ประโยชน์ 1.2.1 ผลการวิจัยพันธุ์ข้าวคุณภาพดี CSF2 วิจัยความต้องการข้าวหอมมะลิปลอดภัยของตลาดภายใน ประเทศและต่างประเทศ KPI2.1 เกษตรกรที่นำผลการวิจัยข้าวหอมมะลิปลอดภัย 2.1.1 ผลการวิจัยข้าวหอมมะลิปลอดภัย KPI2.2 อัตราการเพิ่มขึ้นของความต้องการข้าวหอมมะลิปลอดภัยของตลาดทั้งภายในและต่างประเทศ 2.2.1 จำนวนความต้องการข้าวหอมมะลิปลอดภัยของตลาดทั้งภายในและต่างประเทศ CSF3 พัฒนาปัจจัยการผลิตที่มีความปลอดภัยจากการใช้สารเคมี การบริหารระบบนิเวศน์ในนาข้าว KPI3.1 อัตราที่เพิ่มขึ้นของพื้นที่เพาะปลูกที่มีคุณภาพดินที่เหมาะสมในการปลูกข้าวปลอดภัยจากสารเคมี 3.1.1 ข้อมูลชุดดินในแต่ละพื้นที่ No มี รายงาน รายปี สำนักงานพัฒนาที่ดิน 3.1.2 ค่าวิเคราะห์ดินในแต่ละพื้นที่ (ค่า Ph) In 3.1.3 ผลตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดแบบสุ่มจากเกษตรกร ตัวอย่าง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 3.1.4 พื้นที่เพาะปลูกข้าวในเขตชลประทาน 3.1.5 ต้นทุนการปลูกข้าวเฉลี่ยต่อไร่ CSF4 การพัฒนา ดัดแปลงและเลือกใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสมกับการผลิตข้าวหอมมะลิทั้งกระบวนการ KPI4.1 จำนวนเทคโนโลยีที่มีการพัฒนา ดัดแปลงและเลือกใช้อย่างเหมาะสมกับการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยของจังหวัด 4.1.1 จำนวนเทคโนโลยีที่มีการพัฒนา ดัดแปลงและเลือกใช้อย่างเหมาะสมกับการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยของจังหวัด

8 อำเภอ เนือทีเพาะปลูก (ไร่) ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่(กก.) บุรีรัมย์ 2,735,624 338 เมืองบุรีรัมย์ 276,705 353 กระสัง 243,450 307 นางรอง 206,385 303 บ้านกรวด 43,954 417 ประโคนชัย 267,332 357 หนองกี 128,169 403 สตึก 190,275 318 คูเมือง 120,285 345 ลําปลายมาศ 339,146 348 ละหานทราย 49,965 369 พุทไธสง 130,927 334 ปะคํา 31,592 279 นาโพธิ 94,087 326 หนองหงส์ 91,363 335 พลับพลาชัย 93,644 316 ห้วยราช 73,134 365 โนนสุวรรณ 23,941 บ้านใหม่ไชยพจน์ 66,246 ชํานิ 80,146 288 โนนดินแดง 11,479 322 บ้านด่าน 54,163 380 เฉลิมพระเกียรติ 70,561 377 แดนดง 48,675 261 ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่(กก.) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 332 กลุ่มจังหวัด นครชัยบุรินทร์ 328 นครราชสีมา 300 ชัยภูมิ 315 บุรีรัมย์ 338 สุรินทร์ 356 จากการพิจารณาข้อมูลพื้นที่ที่เหมาะสมการปลูกข้าว ได้แก่ ในเขตพื้นที่ อำเภอสตึก ลำปลายมาศ ประโคนชัย กระสัง คูเมือง ซึ่งมีผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ ที่ 307 – 357 กิโลกรัมต่อไร่ แต่ยังมีอำเภอที่สามารถผลิตได้เฉลี่ยถึง กิโลกรัมขึ้นไป คือ อำเถอบ้านกรวดและหนองกี่ ฉะนั้น จังหวัดควรส่งเสริมให้อำเภอที่มีพื้นเหมาะในการปลูกสามารถปลูกข้าวให้ได้ กิโลกรัมขึ้นไป

9 ภาพแสดง พื้นที่ความเหมาะสมต่อการปลูกข้าว ของจังหวัดบุรีรัมย์
พื้นที่ปลูกข้าวแบ่งออกได้ 4 กลุ่ม ตามความเหมาะสมต่อการปลูกข้าว และตามสัดส่วนของพื้นที่  ตารางแสดง ระดับความเหมาะสมของดินต่อการปลูกข้าวของจังหวัดบุรีรัมย์ ระดับความเหมาะสม ระดับความเหมาะสม (L) กลุ่มชุดดิน % เหมาะสมมาก 1 1,2,3,4,5,6 และ 7  10 เหมาะสมปานกลาง 2 7hi,16,17, 17/25,17hi, 18,18/25, 21, 22, 22/24, 22/55, 24,25 และ 59  80 เหมาะสมน้อย 3 20sa, 20 และ 22sa   5 ไม่เหมาะสม 4 18/24 และ 22/40b รวม 100

10 ตาราง ค่าวิเคราะห์ดินในแต่ละพื้นที่ (ค่า Ph)
อำเภอ กลุ่มดิน 16 18 19 22 40 1 เมืองบุรีรัมย์ 191,250 59,986 19,922 66,486 12,336 2 นางรอง 72,884 65,868 74,228 1,128 44,942 3 กระสัง 79,399 76,243 12,644 140,228 11,920 4 คูเมือง 4,065 13,096 50 54,529 111,874 5 ชำนิ 33,253 26,956 13,868 337 20,668 6 เฉลิมพระเกียรติ 25,783 11,105 6,165 3,149 4,196 7 แคนดง 3,637 10,045 1,055 16,053 64,929 8 บ้านด่าน 46,769 1,664 887 13,793 11,390 9 โนนสุวรรณ 5,647 370 15,237 - 10 ลำปลายมาศ 276,829 20,600 15,678 26,134 60,014 11 โนนดินแดง 7,228 25 4,686 37,736 12 ปะคำ 12,734 2,957 9,759 9,936 65,209 ที่ อำเภอ กลุ่มดิน 16 18 19 22 40 13 หนองหงส์ 102,118 1,070 5,361 2,021 14,788 14 ประโคนชัย 235,185 21,642 13,071 44,824 38,192 15 บ้านใหม่ไชยพจน์ - 13,443 21,096 20,361 13,854 บ้านกรวด 4,051 12,346 2,601 53,063 153,578 17 ละหานทราย 37,343 6,441 43,388 141,142 พุทไธสง 3,004 10,346 35,503 11,563 13,836 สตึก 29,323 27,011 3,345 113,439 55,331 20 หนองกี่ 103,134 17,520 3,471 1,449 657 21 พลับพลาชัย 81,862 1,784 5,160 13,276 8,678 ห้วยราช 44,787 16,300 4,384 7,073 66 23 นาโพธิ์ 1,583 4,465 48,382 2,687 7,147 รวมของจังหวัด 1,401,868 414,842 318,308 649,603 892,483 ค่า pH

11 โครงการพัฒนาคุณภาพดิน วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มผลผลิตข้าว
วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มผลผลิตข้าว แนวทางดำเนินการ ดำเนินปรับปรุงคุณภาพดินในเขตอำเภอที่มีพื้นที่เหมาะสมในการปลูกข้าว และเขตอำเภอ อำเภอสตึก ลำปลายมาศ ประโคนชัย กระสัง คูเมือง และเขตพื้นที่อำเภอที่มีความเหมาะสมปานกลางให้มีความเหมาะมาก โครงการพัฒนาพันธุ์ข้าวดินภูเขาไฟ วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวดินภูเขาไฟ แนวทางดำเนินการ ดำเนินปรับปรุงคุณภาพดินในเขตอำเภอที่มีพื้นที่เหมาะสมในการปลูกข้าว และเขตอำเภอ เมือง ประโคนชัย เฉลิมพระเกียรติ

12 เชื่อมโยงยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวฯ

13 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่อง ข้าว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google