การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
Advertisements

ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
บทที่ 5 การให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ (E-Service)
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
การตลาดในธุรกิจยุคปัจจุบัน (Marketing in the Present Business)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
กระทรวงวัฒนธรรมร่วมประชุมกับ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเพื่อหารือการ สร้างรายได้จากการท่องเที่ยวและบริการ ร่วมกัน โดยมีพลเอกธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร รองนายกรัฐมนตรี
ศักยภาพและการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในโครงการเส้นทางการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ในจังหวัด นครสวรรค์ พัชรี ดินฟ้า, ไชยา อู๋ชนะภัย, สุนันทา เทียมคำ สาขาภูมิศาสตร์
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวน ยุทธศาสตร์จังหวัด จังหวัดบึง กาฬ 1.
การปรับโครงสร้าง โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ แตง.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
นครศรีธรร มราช “ การ ท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ และ วัฒนธรรม ” ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือโครงการสำคัญ (Flagship Project) สรุปประเด็นสำคัญต่อ ยุทธศาสตร์ (Strategic.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education for Higher Education TQF : HEd TQF : HEd Thai Qualifications.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ร่างหลักสูตร โครงการหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดการส่งเสริมการท่องเที่ยว ชุมชนคุณธรรมฯ
โครงการเพิ่มศักยภาพด้านการตลาดผลิตภัณฑ์ไหมนครชัยบุรินทร์ในกลุ่มอาเซียน
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัดปทุมธานี
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การจัดการความรู้ Knowledge Management
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
กฎหมายระเบียบและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด จังหวัด เลย

ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการท่องเที่ยว เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผังสถิติทางการ : การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรม 1 2 3 4 5 6 วางยุทธศาสตร์ /วางแผนการท่องเที่ยว พัฒนาระบบ บริหารจัดการ การท่องเที่ยว พัฒนาปัจจัย พื้นฐานด้านท่องเที่ยว /ทรัพยากร พัฒนาแหล่ง และกิจกรรมท่องเที่ยว พัฒนา ธุรกิจบริการ การท่องเที่ยว พัฒนา การตลาด และประชา สัมพันธ์ CSF 1.1 การวางแผน และกำหนดตำแหน่งเชิง ยุทธศาสตร์ (Strategic Positioning) CSF 1.2 บริหารจัดการ ฐานข้อมูล วัฒนธรรม ท้องถิ่นและจัดทำข้อมูล สารสนเทศเพื่อการ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และวัฒนธรรมที่เป็น เอกลักษณ์ของจังหวัด CSF 1.3 การเชื่อมโยง และจัดเส้นทาง (routs) การท่องเที่ยวระหว่าง จังหวัด CSF 1.4 การสร้างการ มีส่วนร่วมของชุมชนใน การสืบสานและร่วม นำเสนอวัฒนธรรม ประเพณีของจังหวัด CSF 1.5 สร้างความ เชื่อมั่นด้านความ ปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สิน CSF 2.1 พัฒนา มาตรฐาน มัคคุเทศก์ ท้องถิ่น/ผู้นำ เที่ยวให้มีความ รอบรู้เกี่ยวกับวิถี ชุมชน ศิลปะ วัฒนธรรมและ ประเพณี รวมทั้ง แหล่งเรียนรู้ ธรรมชาติที่เป็น เอกลักษณ์ของ จังหวัดเลย และ สามารถถ่ายทอด เป็น ภาษาต่างประเทศ ได้ CSF 2.2 พัฒนา ศักยภาพแรงงาน วิชาชีพและ บุคลากรที่ เกี่ยวข้องกับการ ท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์และ วัฒนธรรม CSF 2.3 ส่งเสริม การรวมกลุ่ม ผู้ประกอบการ ท่องเที่ยวและ ธุรกิจที่เกี่ยวข้อง CSF 3.1 พัฒนา โครงสร้าง พื้นฐาน ถนน ไฟฟ้า ป้ายบอก ทาง CSF 3.2 การ จัดการคุณภาพ สิ่งแวดล้อมเพื่อ การท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน CSF 3.3 การ จัดการปัญหาจาก การท่องเที่ยว เช่น สิ่งปฏิกูล ขยะและมลภาวะ CSF 3.4 การ พัฒนาและ ปรับปรุงระบบ สาธารณูปโภค ไฟฟ้า ประปา โครงข่าย โทรศัพท์และ Internet CSF 4.1 สร้างสรรค์ กิจกรรม ท่องเที่ยว ใหม่ๆ ให้สอดคล้องกับ ความสนใจ CSF 4.2 จัดทำ มาตรฐานแหล่ง ท่องเที่ยว CSF 4.3 ฟื้นฟู/ ปรับปรุง/พัฒนา แหล่งท่องเที่ยว อื่นๆให้เป็นที่ ดึงดูด นอกเหนือจาก จากแหล่ง ท่องเที่ยวหลัก (เช่น อุทยาน สวนสุขภาพ สวนสาธารณะ เป็นต้น) CSF 4.4 ยกระดับคุณภาพ สิ่งอำนวยความ สะดวกในสถานที่ ท่องเที่ยว เช่น ห้องน้ำและน้ำดื่ม สาธารณะ CSF 5.1 การ รับรอง มาตรฐานที่พัก และโรงแรม CSF 5.2 พัฒนา มาตรฐานธุรกิจ บริการที่ เกี่ยวเนื่องกับ การท่องเที่ยว อาทิ ร้านอาหาร โชว์พิเศษต่างๆ CSF 5.3 พัฒนา มาตรฐานสินค้า ของฝากและ ของที่ระลึก CSF 6.1 การทำ การตลาดกลุ่ม นักท่องเที่ยว คุณภาพ (Quality tourist) CSF 6.2 การ ประชาสัมพันธ์ สร้างภาพลักษณ์ CSF 6.3 การตลาดเชิงรุก ผ่านสื่อสมัยใหม่ (Social Network)

ตัวแบบการจัดทำข้อมูล ด้านการท่องเที่ยว จังหวัดเลย “การเพิ่มขีดความสามารถ การท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรม ” ผังรายการสถิติทางการ “การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรม” จังหวัดเลย

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือโครงการสำคัญ (Flagship Project) จังหวัดเลย “การเพิ่มขีดความสามารถ การท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรม ” สรุปประเด็นสำคัญต่อยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) โครงการสำคัญ / มาตรการ 1. ควรส่งเสริมและพัฒนาระดับความรู้ ทักษะ ของมัคคุเทศก์ท้องถิ่นหรือผู้นำเที่ยวให้มีความรอบรู้เกี่ยวกับวิถีชุมชน ศิลปะ วัฒนธรรมและประเพณี และสามารถถ่ายทอดให้กับนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศได้ 1. โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพมัคคุเทศก์ท้องถิ่น/ผู้นำเที่ยว

กรอบแนวคิดโครงการสำคัญ (Project Idea) จังหวัดเลย “การเพิ่มขีดความสามารถ การท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรม ” 1. โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพมัคคุเทศก์ท้องถิ่น/ผู้นำเที่ยว วัตถุประสงค์/ เป้าหมาย 1. เพื่อพัฒนาระดับความรู้ ทักษะ ของมัคคุเทศก์ท้องถิ่นหรือผู้นำเที่ยวให้มีความรอบรู้เกี่ยวกับวิถีชุมชน ศิลปะ วัฒนธรรมและประเพณี และสามารถถ่ายทอดให้กับนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศได้ 2. เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวจังหวัดเลยให้สามารถแข่งขันได้ กิจกรรม หรือ แนวทางโครงการ 1. จัดประชุมระดับจังหวัดโดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเลย เพื่อจัดทำให้มีสถาบันการศึกษาให้เปิดหลักสูตรหรือเปิดอบรมให้ความรู้ สำหรับมัคคุเทศก์ท้องถิ่นและผู้นำเที่ยว 2. รวบรวมข้อมูลมัคคุเทศก์ท้องถิ่นและผู้นำเที่ยวในจังหวัด 3. ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่าง ๆ เพื่อผู้นำท้องถิ่นมัคคุเทศก์ท้องถิ่นและผู้นำเที่ยวในจังหวัด

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ด้านการท่องเที่ยว มัคคุเทศก์ท้องถิ่นหรือผู้นำเที่ยว ควรมีถิ่นฐานบ้านเกิดเป็นคนในจังหวัดเลย ทั้งนี้ เพื่อเป็นการส่งเสริมคนในท้องถิ่นได้มีงานทำและแรงงานไม่รั่วไหลออกนอกจังหวัด และเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจของจังหวัดเลย