12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของกระบวนการเรียนการสอน
Advertisements

ความฝันเกี่ยวกับ นศ. มหิดล
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน การสอน
รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย
การศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับศตวรรษที่ ๒๑
Educational Policies.
การปฏิรูปอุดมศึกษาไทยและความสำคัญของ Learning Outcome Assessment
เวชจริยศาสตร์และการคิดเชิงวิพากษ์
เพศศึกษา ในศตวรรษที่ 21.
การผลิตบัณฑิตกับวิชาการสายรับใช้สังคม
ผศ.ดร.อังสนา บุญธรรม ภาควิชาอนามัยชุมชน คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.มหิดล
การนำผลการประเมินหลักสูตรไปใช้
การเรียนการสอนในศตวรรษที่ ๒๑
การประเมินผลระหว่างเรียนที่ ส่งเสริมการสอนของครูและ การเรียนรู้ของนักเรียนใน ศตวรรษที่ 21.
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
ศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
กระบวนการและเทคนิค การพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย.
พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย “ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงรา ชานุภาพ ” ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๕๓ ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาล ที่ ๔ และเจ้าจอม.
แผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง กับการบรรจุแต่งตั้ง.
การเรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐาน (Project based Learning : PBL)
การเขียนชื่อ “เรื่อง”
รูปแบบและแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ Moderate Class More Knowledge
วันที่ 30 พฤษภาคม 2560 และ 20 มิถุนายน 2560
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
โรงเรียนในเตาพิทยาคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
Project based Learning
พฤติกรรมการซื้อ Buyer Behavior
เทคนิคการสอนยุค IT ตอนที่ 2
กฎหมายข้าราชการพลเรือน ผู้อำนวยการสำนักกฎหมาย สำนักงาน ก.พ.
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน สถานการณ์ปัญหาที่ 1
กฎหมายการศึกษาไทย.
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
การวัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ TQF
ดร.อัญชลี ประกายเกียรติ
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม (Social & Culture Change)
การแนะแนวอาชีพในศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
นายสมชัย ชวลิตธาดา EKACHAI SCHOOl โรงเรียนเอกชัย
แนวคิดเรื่องการรู้สารสนเทศ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
PRE 103 Production Technology
ผู้ใช้และการใช้สารสนเทศ
Career Path บุคลากรสายงานกิจการนิสิต
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0
พลตำรวจตรี สุรัตน์ อรุณฤกษ์ถวิล อาจารย์ (สบ
สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
การพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่
Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
นักวิชาการกับงานวิชาการเพื่อสังคม (และตำแหน่งทางวิชาการ)
การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
บรรยายโดย พันเอก ณัฐพงษ์ เพราแก้ว
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนารูปแบบการปลูกฝังคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของผู้เรียนให้เป็น “คนดี มีวินัย” ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 สู่ผู้เรียน ในศตวรรษที่ 21 ด้วยกระบวนการบริหารจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ 12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒

“เด็กต้องเรียนความรู้ อบรมความดี ฝึกหัดวินัยให้มีพร้อมแต่เยาว์วัย จึงจะมีความสุขความเจริญได้ ทั้งในวันนี้และวันข้างหน้า” ประมวลพระราชดำรัส/พระบรมราโชวาทบางตอน ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน 18 ธันวาคม 2522

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา 54 วรรค 3 รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่างๆ รวมทั้งส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกัน ระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ดำเนินการ กำกับ ส่งเสริมและสนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าว มีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ทั้งนี้ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา 54 วรรค ๔ การศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้เป็น คนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบต่อ ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ

การขับเคลื่อนโครงการ   ใช้ศูนย์แม่ข่าย STAR STEMS เดิม ภาคใต้มี 2 โรงเรียน

มุ่งพัฒนาผู้เรียน ตามโครงการจัดการศึกษา เพื่อการมีงานทำ การเชื่อมโยงกิจกรรม ใช้การบริหารจัดการ ตามแนวโรงเรียนมาตรฐานสากล จัดหลักสูตรการเรียนการสอน ตามโครงการปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียนสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 มุ่งพัฒนาผู้เรียน ตามโครงการจัดการศึกษา เพื่อการมีงานทำ

1 โรงเรียน 1 อาชีพ เพื่อไปแสดงผลงาน เนื่องในงานมหกรรมการศึกษา เพื่อไปแสดงผลงาน เนื่องในงานมหกรรมการศึกษา ระดับจังหวัด ประมาณเดือน ตุลาคม-พฤศจิกายน 2561 ระดับภาค ประมาณเดือน ธันวาคม 2561 – มกราคม 2562

รูปแบบการจัดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ใช้การบริหารจัดการ 7 โมดูล (Module) ใช้กระบวนการเรียนรู้ตามบันได 5 ขั้น Five Steps of Learning (QSCCS) และจัดทำหน่วยการเรียนรู้แบบสหวิทยาการ ซึ่งจะทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนการจัดกระบวนการเรียนรู้ จาก Passive Learning มาเป็น Active Learning ส่งผลให้ผู้เรียนมีทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ได้แก่ 3Rs + 8Cs 7 โมดูล QSCCS

การบริหารจัดการ 7 โมดูล (Module) โมดูล ๑ สำรวจความต้องการของถิ่นฐานใน ระดับท้องถิ่น โมดูล ๒ การจัดทำหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระดับชั้น (Learning Integration) โมดูล ๗ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไปใช้จัดกระบวนการเรียนรู้ ตามกระบวนการ Five Steps of Learning (QSCCS) โมดูล ๓ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ โมดูล ๖ การพัฒนาสมรรถนะตามสาขาวิชาชีพ และจัดทำ Career Path โมดูล ๔ การจัดกิจกรรมความถนัดและความสนใจเฉพาะทาง (จะเกี่ยวข้องกับ PBL) โมดูล ๕ การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง

ใกล้ตัวนักเรียน นักเรียนคุ้นเคย สังเกตความเป็นวิถีชุมชนของตนเอง โมดูล ๑ สำรวจความต้องการของถิ่นฐานในระดับท้องถิ่น ใกล้ตัวนักเรียน นักเรียนคุ้นเคย สังเกตความเป็นวิถีชุมชนของตนเอง

โมดูล ๒ การจัดทำหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระดับชั้น (Learning Integration) ร่วมกันกำหนด ชื่อ หน่วยบูรณา การ หัวเรื่องใหญ่- ย่อย เนื้อหาสาระ แยกเป็นราย ภาคเรียน นำมาตรฐาน การเรียนรู้และ ตัวชี้วัดที่ ครูผู้สอน แต่ละวิชาได้ วิเคราะห์แล้ว มาเชื่อมโยงสู่ หน่วยการ เรียนรู้บูรณา การ

โมดูล ๓ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ ใช้กระบวนการเรียนรู้ตามบันได ๕ ขั้น (Five Steps of Learning : QSCCS) ใช้ทักษะการสังเกตตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ใช้ทักษะการแก้ปัญหาตามกระบวนการทางคณิตศาสตร์ โดยสอดแทรก ความเป็นคนดี มีวินัยด้วยคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประการและค่านิยมของคนไทย ๑๒ ประการ เกิดการเปลี่ยนแปลง จาก Passive Learning มาเป็น Active Learning นักเรียนเกิดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑  

*สร้างความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชาชีพ โมดูล ๔ การจัดกิจกรรมความถนัดและความสนใจเฉพาะทาง (จะเกี่ยวข้องกับ PBL) *สร้างความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชาชีพ *ใช้โครงงานเป็นฐาน ( Project-based Learning: PBL) (คือวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญที่จะช่วยพัฒนาผู้เรียน ทั้งด้านความรู้และทักษะการทำงานด้วยวิธีการค้นคว้า ใช้ความรู้ในชีวิตจริง มีผลงานที่แสดงให้เห็นถึงศักยภาพที่เกิดจากการเรียนรู้)

โมดูล ๕ การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ควรวัดตามประเภทและระดับขั้นพฤติกรรมที่ระบุไว้ ตามมาตรฐานตัวชี้วัดการเรียนรู้รายวิชา ทั้ง ๓ ด้าน ด้านเจตคติ ( Affective Domain) ด้านทักษะการปฏิบัติ ( Psychomotor Domain) ด้านความรู้ความสามารถ (Cognitive Domain) - การวัดผลไม่ได้ใช้เพื่อการชี้ว่า ได้ หรือ ตก แต่วัดเพื่อประเมินความก้าวหน้าของพัฒนาการด้านการเรียนรู้ของนักเรียนทั้ง ๓ ด้าน  

โมดูล ๖ การพัฒนาสมรรถนะตามสาขาวิชาชีพและจัดทำ Career Path โรงเรียนควรเปิดโปรแกรมการเรียนการสอน ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน ให้สถานประกอบการเข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษาในรายวิชาเพิ่มเติม และรายวิชาในกลุ่มสาระการงานอาชีพฯ

โมดูล ๗ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไปใช้จัดกระบวนการเรียนรู้ ตามกระบวนการ Five Steps of Learning (QSCCS) ครู - จัดทำหลักสูตรและหน่วยการเรียนรู้ - จัดกระบวนการเรียนรู้ ตามกระบวนการ Five Steps of Learning - ประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ - วัดผลและประเมินผล นักเรียน - ค้นคว้าหาความรู้ นำเสนอ สื่อสาร จัดเก็บข้อมูล - ใช้เทคโนโลยีให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ - มีวิจารณญาณในการเลือกใช้ เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม  

กระบวนการเรียนรู้ตามบันได 5 ขั้น Five Steps of Learning (QSCCS) Q S C C S

Q ขั้นที่ 1 เรียนรู้ด้วยการตั้งคำถาม สงสัย ใคร่รู้ (Learning to Question :Q) ใช้เทคนิค 5 w 1 H Who ใคร (ในเรื่องนั้นมีใครบ้าง) What ทำอะไร (แต่ละคนทำอะไรบ้าง) Where ที่ไหน (เหตุการณ์หรือสิ่งที่ทำนั้นอยู่ที่ไหน) When เมื่อไหร่ (เหตุการณ์หรือสิ่งที่ทำนั้นทำเมื่อวัน เดือน ปี ใด) Why ทำไม (เหตุใดจึงได้ทำสิ่งนั้น หรือเกิดเหตุการณ์นั้นๆ) How อย่างไร (เหตุการณ์หรือสิ่งที่ทำนั้นเป็นอย่างไรบ้าง)

ขั้นที่ ๒ - เรียนรู้ด้วยการแสวงหา สืบเสาะ ค้นคว้า(Learning to Search : S) องค์กรที่จัดให้บริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้โดยตรง เช่น ห้องสมุด , พิพิธภัณฑ์ ,  หอจดหมายเหตุ , และหอศิลป์ แหล่งอื่นที่ไม่ได้บริการโดยตรง เช่น บุคคล สถานที่ เหตุการณ์ แหล่งสืบค้น Online เช่น อินเทอร์เน็ต

เรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้ สรุป (Learning to Construct : C) ขั้นที่ ๓ เรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้  สรุป (Learning to Construct : C) ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดจากบุคคลอื่น ความรู้เกิดจากประสบการณ์การทำงาน ความรู้ที่ได้จากการวิจัยทดลอง ความรู้จากการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ ความรู้ที่มีปรากฏอยู่ในแหล่งความรู้ภายนอกโรงเรียน และนักเรียนได้นำมาใช้ แหล่งกำเนิดขององค์ความรู้

วาจา ตาราง ( Tabular Presentation ) คลังความรู้ KM ในเว็บไซต์ ขั้นที่ ๔ เรียนรู้เพื่อการสื่อสาร สัมพันธ์ (Learning to Communicate : C) รายงานวิจัย /บทความ ( Text Presentation) ตาราง ( Tabular Presentation ) กราฟหรือแผนภูมิ (Graphical Presentation) ) วาจา คลังความรู้ KM ในเว็บไซต์

ขั้นที่ ๕ เรียนรู้เพื่อตอบแทนสังคม  การให้บริการ (Serve : S) เมื่อมีความรู้ ความ เข้าใจ มีทักษะแล้วสามารถ บอก สาธิต ขยายผล ช่วยเหลือ ผู้อื่น และตอบแทนสังคม ได้  

มาเป็น Active Learning การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามบันได 5 ขั้น จะส่งผลลัพธ์ที่ได้คือสามารถปรับวิธีเรียนเปลี่ยนวิธีสอนจาก Passive Learning (ครูบอกให้รู้ ผู้เรียนฟัง ท่องจำมาสอบ) มาเป็น Active Learning (ผู้เรียนสงสัย คิดหาค้นคว้าคำตอบ ลงมือทำด้วยตนเอง โดยมีครูคอยเป็นที่ปรึกษาอย่างใกล้ชิด)

ส่งผลให้เกิดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๕ ประการ จากการดำเนินงานโดยใช้การบริหาร จัดการ ๗ โมดูล กระบวนการเรียนรู้ตามบันได ๕ ขั้น บูรณาการกับคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียน ๘ ประการ ค่านิยม ๑๒ ประการตามนโยบายของ คสช. ส่งผลให้เกิดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๕ ประการ นักเรียนมีทักษะการเรียนรู้ (Learning Skills) ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ได้แก่ 3Rs + 8Cs

33Rs ๑. Reading (อ่านออก - มีนิสัยรักการ อ่าน จับใจความได้) ๒. (W)Riting (เขียนได้ - เขียนสื่อ ความได้ ย่อความเป็น) ๓. (A)Rithmetics (คิดเลขเป็น - มี ทักษะการคิดแบบนามธรรม-ครูต้อง สอนโดยใช้สิ่งที่เห็นด้วยความคิด ให้ นักเรียนได้เรียนรู้ได้ง่าย ได้เล่นของเล่น ที่จำเป็น เล่นเป็นขั้นตอน มีการใช้ ความคิด เช่น เลโก้ ตัวต่อจิ๊กซอว์ บอร์ดเกม เกมการ์ด)

๑. Critical Thinking & Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา) ๒. Creativity & Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)) ๓. Collaboration, Teamwork & Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ) ๔. Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) ๕. Communication, Information & Media Literacy (2-3ภาษา ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ) ๖. Computing & Media Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) ๗. Career & Learning Self-reliance (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้) ๘. Change (ทักษะการเปลี่ยนแปลง) 8Cs

แนวทางการจัดทำหลักสูตรบูรณาการเพื่อปลูกฝังคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของผู้เรียน ให้เป็น “คนดี มีวินัย” ฯ สู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

หลักสูตร คือ แผนการจัดการศึกษาที่กำหนดไว้อย่างมีเป้าหมาย เป็นลายลักษณ์อักษร มุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะ มีสมรรถนะ หรือความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ต้องการ ให้ผู้เรียนเป็นคนเก่ง คนดี อยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข

การบูรณาการ เป็นการผสมผสาน เชื่อมโยงหลักสูตรที่ประกอบ ไปด้วย เนื้อหาสาระ กระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล คุณลักษณะอันพึงประสงค์เข้าด้วยกันกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ในระดับชั้นเดียวกัน โดยคำนึงถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคล และความสามารถทางสติปัญญา ในที่นี้จะใช้การบูรณาการแบบ สหวิทยาการ ใช้รูปแบบ Webbed

Webbed คือ รูปแบบการบูรณาการระหว่างวิชาหลายวิชา มีการกำหนดหัวข้อเรื่อง(Theme) ขึ้นมาแล้วเชื่อมโยงไปสู่วิชาต่างๆ ว่ามีประเด็นหรือเนื้อหาสาระใดที่พิจารณาเห็นว่ามีความสัมพันธ์กัน คล้ายคลึงกัน หรือ ต่อเนื่องกันที่จะสามารถนำมาจัดรวมเป็นหัวข้อเรื่องเดียวกัน เพื่อที่จะได้สอนรวมกันไปได้อย่างกลมกลืน

การพัฒนาผู้เรียนให้เป็น คนดี มีวินัยสู่ผู้เรียน ในศตวรรษที่ 21 กระบวนการเรียนรู้ตามบันได ๕ ขั้น

1 ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ใบงานที่ ใบงานที่ ใบงานที่ ใบงานที่ ใบงานที่ ใบงานที่ เป้าหมายท้าทายของเรา ใบงานที่ 1 ใบงานที่ ๒ ใบงานที่ ๓ ใบงานที่ ๔ ใบงานที่ ๕ ใบงานที่ ๖ ผังมโนทัศน์หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ วิเคราะห์หลักสูตรเชื่อมโยงสู่ หน่วยการเรียนรู้ บูรณาการ โครงสร้าง หน่วยการเรียนรู้ บูรณาการ คำอธิบาย หน่วยการเรียนรู้ บูรณาการ Roadmap การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการ สู่อาชีพ หน่วยการเรียนรู้ บูรณาการ