งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่

2 ครูปฐมวัยในศตวรรษที่ 21
มีทักษะหลากหลาย มีความสามารถหลากหลาย ให้ความร่วมมือกับเพื่อนร่วมวิชาชีพและครอบครัว ให้ความสำคัญกับคุณค่าความหลากหลาย รักการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง/ทันสมัย

3 ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills)
ความรู้ในวิชาหลัก ทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ ทักษะการเรียนรู้และสร้างนวัตกรรมใหม่ ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี

4 ภาพการศึกษาปฐมวัยที่น่าสนใจ
ปัญหา สาเหตุของปัญหา เด็กมีค่าเฉลี่ยไอคิวต่ำกว่าสากล เด็กขาด M.Q. (Moral Quotient) และ A.Q. (Adversity Quotient) เด็กขาดทักษะในการดำรงชีวิต -ความเชื่อและค่านิยมที่ผิดของผู้ปกครอง (คนที่รู้มากคือคนเก่ง/อนาคตดี) -เน้นการเรียนการสอนวิชาการ -ปิดกั้นการพัฒนาสมองของเด็กตามวัยที่เหมาะสม ที่มา: มนฑกานติ์ รอดคล้าย จาก (Child and Family Development in the 21st Century

5 การเรียนรู้สู่การศึกษาปฐมวัยในศตวรรษที่ 21
แนวคิด ลักษณะสำคัญ 1. STEM Education เป็นจัดการศึกษาแบบบูรณาการวิชาวิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) คณิตศาสตร์ (Mathematic) โดยนำลักษณะธรรมชาติสาระวิชามาผสมผสานและจัดประสบการณ์เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน เน้นนำความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการผลิต หรือผลผลิตใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตและทำงาน

6 แนวคิด ลักษณะสำคัญ 2. การเรียนรู้ภาษาอย่างธรรมชาติแบบองค์รวม (Whole Language) การฝึกสร้างความสามารถทางภาษาฟัง พูด อ่าน เขียนอย่างเชื่อมโยงสัมพันธ์ไม่แยกออกจากกัน องค์ประกอบของการเรียนรู้ จัดสภาพแวดล้อมในรูปแบบของการสอนภาษาธรรมชาติ กระบวนการเรียนรู้แบบธรรมชาติตามวัยวุฒิของเด็ก จัดการเรียนการสอนของครู

7 แนวคิด ลักษณะสำคัญ 3. การเรียนรู้ตามแนวคิดวอลดอร์ฟ (Waldorf) เชื่อมั่นคุณค่าอันลึกล้ำที่สุดและเป็นสากลที่สุดของมนุษย์ จะขึ้นได้ เมื่อการศึกษานำความสมดุลระหว่างความสามารถในการคิด รู้สึกและพลังเจตจำนงค์ ซึ่งคัดมาในตัวเด็กแต่ละคน จัดกิจกรรมหลักและกิจกรรมพื้นฐานคำนึงถึงความสมดุลระหว่างกิจกรรมกลุ่มกับกิจกรรมอิสระและความสมดุลระหว่างกิจกรรมที่ต้องการความสงบกับกิจกรรม

8 แนวคิด ลักษณะสำคัญ ที่สร้างความสนุกสนานเพื่อให้เด็กพัฒนาที่สมดุลในทุกด้าน องค์ประกอบการจัดกิจกรรม การเลียนแบบ (Imitation) จินตนาการ (Imagination) แรงบันดาลใจ (Inspiration)

9 4. การเรียนรู้ตามแนวคิดมอนเตสซอรี (Montessori)
ลักษณะสำคัญ 4. การเรียนรู้ตามแนวคิดมอนเตสซอรี (Montessori) พัฒนาการเรียนรู้ในการทำงานด้วยตนเอง และความรู้สึกถึงความรับผิดชอบ มีวิธีการที่ควบคุมตนเองให้ทำงานได้สำเร็จ เรียนรู้ในการรับผิดชอบต่อตนเองและสภาพการณ์ต่างๆ ที่ช่วยให้ค้นพบ 5. การเรียนรู้ตามแนวคิดเรกจิโอ เอมีเลีย (Reggio Emilia) จัดสภาพการเรียนรู้ที่สนองต่อความอยากรู้ และแรงจูงใจภายในของเด็ก

10 แนวคิด ลักษณะสำคัญ ในการเรียนรู้ภายใต้การจัดสิ่งแวดล้อมและกิจกรรมทั้งเหมาะสมกับพัฒนาการของเด็กแต่ละคน การเรียนรู้อย่างลุ่มลึกจากโครงงาน (Projects) เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่โดดเด่นในโรงเรียนตามแนวคิดเรกจิโอ

11 แนวคิด ลักษณะสำคัญ 6. การจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ (Constructivism) เน้นกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนและความสำคัญของความรู้เดิม เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงความรู้ด้วยตนเองและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ฝึกปฏิบัติจริงค้นหาความรู้ด้วยตนเอง ฝึกทักษะกระบวนการกลุ่มเป็นพื้นฐานการดำรงชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุข

12 แนวคิด ลักษณะสำคัญ 7. การจัดการเรียนรู้ตามวิถีชีวิตไทย แนวคิดและทฤษฎีที่มีอิทธิพล แนวคิดหลักการของไทย 1) แนวคิดพระพุทธศาสนา 2) แนวคิดวัฒนธรรมไทย 3) ปัญหา ความต้องการเด็กไทย แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงสังคม

13 8. การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Base Leaning)
แนวคิด ลักษณะสำคัญ 8. การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Base Leaning) มุ่งให้ผู้เรียนเรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งจากความสนใจอยากรู้อยากเรียนของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการ และวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ผู้เรียนค้นหาคำตอบด้วยตนเอง แต่ผู้สอนจะสนับสนานให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ และปรับปรุงความรู้ที่ได้ให้สมบูรณ์

14 แนวคิด ลักษณะสำคัญ - เรียนรู้ทักษะองค์ประกอบย่อยของเรื่องนั้น
9. การเรียนรู้แบบรู้จริง/รอบรู้ (Mastery Learning) - ผู้เรียนสามารถใช้เวลาเท่าที่ต้องการในการเข้าถึงแก่นแท้ของบทเรียน แล้วได้รับข้อมูลย้อนกลับที่แสดงถึงจุดบกพร่องและคำแนะนำในการปรับปรุง - เรียนรู้ทักษะองค์ประกอบย่อยของเรื่องนั้น - เรียนรู้วิธีบูรณาการทักษะองค์ประกอบย่อยเข้าด้วยกัน - เรียนรู้ที่จะประยุกต์ใช้ทักษะให้เหมาะสมกับกาลเทศะ

15 แนวคิด ลักษณะสำคัญ 10. การเรียนรู้แบบสอนให้น้อยเรียนรู้ให้มาก (Teach Less, Learn More) -เป้าหมายสัมผัสหัวใจและให้กำลังใจ เตรียมผู้เรียนสำหรับใช้ชีวิต -เน้นการมีปฎิสัมพันธ์ในชั้นเรียน โอกาสแสดงออกทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตและสร้างลักษณะผ่านนวัตกรรมการสอน และกลยุทธ์วิธีสอนที่มีประสิทธิภาพ

16 หลักสูตรและการสอนในศตวรรษที่ 21 (21st Century Curriculum and Instruction)
สอนเน้นเชิงสหวิทยาการของวิชาแกนหลัก ประยุกต์ทักษะเชิงบูรณาการข้ามสาระเนื้อหาและสร้างระบบการเรียนรู้ที่เน้นสมรรถนะเป็นฐาน สร้างนวัตกรรมและวิธีการเรียนรู้ในเชิงบูรณาการที่มีเทคโนโลยีเป็นตัวเกื้อหนุน บูรณาการแหล่งเรียนรู้ สร้างสรรค์แนวปฏิบัติการเรียน และสภาพแวดล้อมกายภาพเกื้อหนุน

17 มาตรฐานการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21st Century Standards)
เน้นทักษะ ความรู้ และความเชี่ยวชาญเกิดกับผู้เรียน (Project – Based Learning, Problem Based Learning) บูรณาการความซ้ำซ้อนสาระเนื้อหา สร้างความรู้ และเข้าใจเชิงลึกมากกว่าการสร้างความรู้แบบผิวเผิน ยกระดับความสามารถผู้เรียนด้วยการให้ข้อมูลที่เป็นจริง ใช้หลักการวัดประเมินผลที่มีคุณภาพระดับสูง

18 การประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21 (Assessment of 21st Century Skills)
1. สร้างความสมดุลในการประเมินผลเชิงคุณภาพ 2. นำผลสะท้อนจากการปฏิบัติของผู้เรียนมาปรับปรุงการแก้ไขงาน 3. ใช้เทคโนโลยีเพื่อยกระดับการทดสอบวัดและประเมินผลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด 4. สร้างและพัฒนาระบบแฟ้มสะสมงานของผู้เรียนให้เป็นมาตรฐาน และมีคุณภาพ

19 ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ (ศตวรรษที่ 21)

20 ขั้นตอน แนวปฏิบัติ Q: Learn to Question
1. เตรียมหลักสูตร/แหล่งการเรียนรู้ 2. เตรียมบทบาทครู 3. สำรวจชุมชนสร้างแรงบันดาลใจ 4. ระดมความคิดเห็น S: Learn to Search 5. สืบค้น วิเคราะห์ จำแนกข้อมูลให้ถูกต้อง 6. ออกแบบการเรียนรู้ร่วมกัน C: Learn to Construct 7. ลงมือปฏิบัติ - เรียน/ทดลอง/สร้างชิ้นงาน - เรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญ/ของจริง - แลกเปลี่ยนเรียนรู้

21 ขั้นตอน แนวปฏิบัติ C: Learn to Communicate 8. สรุปข้อมูลเพื่อนำเสนอ
S: Learn to Service 9. ประยุกต์ต่อยอดองค์ความรู้เพื่อสังคม

22 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google