งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย “ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงรา ชานุภาพ ” ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๕๓ ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาล ที่ ๔ และเจ้าจอม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย “ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงรา ชานุภาพ ” ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๕๓ ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาล ที่ ๔ และเจ้าจอม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย “ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงรา ชานุภาพ ” ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๕๓ ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาล ที่ ๔ และเจ้าจอม มารดาชุ่ม ประสูติ เมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน พ. ศ. ๒๔๐๕

3 ประวัติศาสตร์คือ การศึกษาเรื่องราว ของมนุษย์ในอดีต ที่เกิดในช่วงเวลา สมัยที่ต่าง ๆ กัน เวลาเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ สังคมเปลี่ยนแปลง เหตุการณ์ที่เกิดก่อนย่อมเป็นเหตุ ให้เกิดผลคือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น - ภายหลัง

4 วิธีการทาง ประวัติศาสตร์

5 ประวัติศาสตร์ซ้ำรอย ( History Repeat itself ) เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงยุคหลังมี ลักษณะเหมือนหรือคล้ายกับ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ต่างกัน ที่ช่วงเวลา สถานที่ ปัจจัย และ บุคคล จึงควรนำเหตุการณ์ในอดีตมา ศึกษาเพื่อหาแนวทางป้องกัน แก้ไขไม่ให้เกิดผลการสูญเสีย เหมือนในอดีต หรือเพื่อให้เกิดผลดีมากกว่าใน อดีต

6 นักประวัติศาสตร์ต้องมีวิธีการศึกษา เพื่อให้ได้เรื่องราวที่ผ่านมา มีความถูกต้อง ชัดเจนสมบูรณ์ที่สุด

7 คือ การรวบรวม พิจารณาไตร่ตรอง วิเคราะห์และตีความจากหลักฐาน แล้วนำมาเปรียบเทียบ อย่างเป็นระบบ เพื่ออธิบายเหตุการณ์สำคัญที่ เกิดขึ้นในอดีตว่าเหตุใดจึงเกิดขึ้น หรือ เหตุการณ์ในอดีตนั้นได้เกิด และคลี่คลายอย่างไร ซึ่งเป็นความมุ่งหมายที่สำคัญของ การศึกษาประวัติศาสตร์

8 * ขั้นตอน หรือวิธีการที่นัก ประวัติศาสตร์ใช้เพื่อศึกษา ค้นคว้า และเรียบเรียงเหตุการณ์ ทางประวัติศาสตร์จากหลักฐานที่มี ความถูกต้องชัดเจนที่สุด เป็นลายลักษณ์อักษร - ตำนาน - จารึก - พงศาวดาร - บันทึกของ ชาวต่างชาติ - จดหมายเหตุ - เอกสาร ทางราชการ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ไม่เป็นลายลักษณ์ อักษร - โบราณสถาน - โบราณวัตถุ

9 โบราณสถาน โบราณวัตถุ คืออะไร โบราณสถาน และ โบราณวัตถุ จัดเป็นหลักฐานชั้นต้น ( ปฐม ภูมิ ) เพราะเป็นสิ่งก่อสร้าง ผลงาน ที่เกิดขึ้นในสมัยนั้น จริง ๆ เป็นหลักฐานที่สำคัญ น่าเชื่อถือมากที่สุด

10 1. การตั้งประเด็นที่จะศึกษา 2. การรวบรวมข้อมูล 3. การวิเคราะห์และประเมิน ค่าของหลักฐาน 3.1 การวิเคราะห์ ภายนอก 3.2 การวิเคราะห์ภายใน 4. การเลือกสรรและจัด ความสัมพันธ์ของข้อมูล 5. การนำเสนอข้อมูล หรือ การสังเคราะห์ข้อมูล

11 คือการเลือกเรื่องที่ตนเอง สนใจ อยากรู้ การศึกษาประวัติศาสตร์เริ่ม จาก การตั้งคำถามพื้นฐานหลัก 5 คำถาม คือ " เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นใน อดีต " (What), " เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นเมื่อไหร่ " (When), " เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นที่ไหน " (Where), " ทำไมจึงเกิดเหตุการณ์นั้น ขึ้น " (Why), และ " เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นได้ อย่างไร " (How)

12 * หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ให้ข้อมูล มี ทั้งหลักฐานที่เป็น ลายลักษณ์อักษร และหลักฐานที่ไม่เป็น ลายลักษณ์อักษร * มีทั้งที่เป็นหลักฐานชั้นต้น ( ปฐมภูมิ ) และ หลักฐานชั้นรอง ( ทุติยภูมิ ) * ในการรวบรวมข้อมูลประเภทต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น ควรเริ่มต้นจากหลักฐาน ชั้นรองแล้วจึงศึกษาหลักฐานชั้นต้น * ถ้าเป็นหลักฐานประเภทไม่เป็นลายลักษณ์ อักษรก็ควรเริ่มต้นจาก ผลการศึกษาของนักวิชาการที่เชี่ยวชาญ ในแต่ละด้าน

13 * ควรเริ่มต้นจากผล การศึกษาของ นักวิชาการที่เชี่ยวชาญใน แต่ละด้าน ก่อนไปศึกษาจากของจริง หรือสถานที่จริง * การศึกษาประวัติศาสตร์ที่ ดีควรใช้ข้อมูลหลาย ประเภท ขึ้นอยู่กับว่าผู้ ศึกษาต้องการศึกษาเรื่อง อะไร

14 * ดังนั้นการรวบรวมข้อมูล ที่ดีจะต้องจดบันทึก รายละเอียดต่างๆ ทั้งข้อมูลและแหล่งข้อมูล ให้สมบูรณ์ และถูกต้อง เพื่อการอ้างอิงที่ น่าเชื่อถือ

15 3.1 การวิเคราะห์ภายนอก คือ พิจารณาว่าหลักฐาน ประวัติศาสตร์นั้นเป็นของ จริงหรือของปลอม 3.2 การวิเคราะห์ภายใน คือ การพิจารณาเหตุการณ์ สถานที่ คำพูด ว่า ถูกต้อง หรือไม่ เรียกชื่ออีกอย่างหนึ่งว่า วิพากษ์ วิธีทางประวัติศาสตร์

16 หมายถึง การเลือกข้อมูลที่ตรงกับ เรื่องที่ศึกษา นำมาจัดเป็นหมวดหมู่ เช่นความ เป็นมา สาเหตุ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ผลของ เหตุการณ์ทั้งผลดี ผลเสีย ผลกระทบ เรียงลำดับเหตุการณ์ ตามลำดับก่อน หลัง

17 หมายถึง การนำเสนอข้อมูลใน ลักษณะการตอบหรืออธิบายความ อยากรู้ ข้อสงสัย ตลอดจนองค์ ความรู้ใหม่ ความคิดเห็นที่ได้จาก การศึกษาค้นคว้า นำมาเรียบเรียง และเขียน เขียนรายงานอย่างมี เหตุผล

18 1. เกิดสำนึกในการค้นคว้าและ สืบค้นข้อมูลที่เชื่อมโยงอดีตและ ปัจจุบัน 2. สร้างความภูมิใจและกระตุ้น ความรู้สึกนิยมในชาติหรือ เผ่าพันธุ์ 3. ตระหนักถึงคุณค่าของมรดก ทางวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษสั่งสม ไว้ 4. เกิดการเรียนรู้จากอดีตเพื่อ เป็นบทเรียนสำหรับปัจจุบัน

19 5. องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษา ประวัติศาสตร์จะทำให้เข้าใจถึง ปัญหา สาเหตุของปัญหา และ ผลกระทบจากปัญหา, 6. องค์ความรู้ที่หลากหลาย ซึ่ง สามารถนำความรู้เหล่านั้นไป กำหนดยุทธศาสตร์ในการดำเนิน นโยบายให้เป็นประโยชน์ต่อทั้ง ปัจจุบันและอนาคต

20 7. ทำให้ผู้ศึกษาสั่งสม ประสบการณ์และทักษะในการ วิเคราะห์ ไต่สวน และแก้ปัญหา ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับ การศึกษาศาสตร์แขนงอื่น ๆ 8. ขั้นตอนวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ นับเป็น องค์ประกอบสำคัญของการ พัฒนาคุณภาพประชากรในสังคม ที่เจริญก้าวหน้าและมีพัฒนาการ สูง

21 ผู้ผลิต - จรินทร์ พึ่งจง เจริญสุข


ดาวน์โหลด ppt พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย “ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงรา ชานุภาพ ” ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๕๓ ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาล ที่ ๔ และเจ้าจอม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google