งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผู้ใช้และการใช้สารสนเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผู้ใช้และการใช้สารสนเทศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผู้ใช้และการใช้สารสนเทศ
สัมมนาเข้ม ชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ อาจารย์ ดร.อารีย์ ชื่นวัฒนา 16 กรกฎาคม 2548

2 หน่วยที่ 12 ผู้ใช้กับระบบค้นคืนสารสนเทศ 12. 1
หน่วยที่ 12 ผู้ใช้กับระบบค้นคืนสารสนเทศ ผู้ใช้กับระบบค้นคืนสารสนเทศ ความเกี่ยวข้องระหว่างผู้ใช้กับระบบ สารสนเทศ การศึกษาผู้ใช้ ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ แนวคิดเกี่ยวกับความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ การศึกษาความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้

3 หน่วยที่ 13 พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ 13. 1
หน่วยที่ 13 พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ แนวคิดและตัวแบบเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหา สารสนเทศ แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหา สารสนเทศ ตัวแบบเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหา สารสนเทศ กระบวนการและกลยุทธ์ในการแสวงหาสารสนเทศ กระบวนการแสวงหาสารสนเทศ กลยุทธ์ในการแสวงหาสารสนเทศ

4 การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และการออกแบบส่วนต่อประสาน การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหา สารสนเทศ การออกแบบส่วนต่อประสาน

5 หน่วยที่ 12 ผู้ใช้กับระบบค้นคืนสารสนเทศ 12. 1
หน่วยที่ 12 ผู้ใช้กับระบบค้นคืนสารสนเทศ ผู้ใช้กับระบบค้นคืนสารสนเทศ ความเกี่ยวข้องระหว่างผู้ใช้กับระบบ สารสนเทศ - คำจำกัดความของผู้ใช้ การจำแนกประเภทผู้ใช้ - ความเกี่ยวข้องของผู้ใช้กับระบบค้น คืนสารสนเทศ

6 ความเกี่ยวข้องระหว่างผู้ใช้กับระบบสารสนเทศ
ความเกี่ยวข้องระหว่างผู้ใช้กับระบบสารสนเทศ ผู้ใช้ คือ ผู้มีความต้องการสารสนเทศ แสวงหา ค้นหา หรือ ใช้สารสนเทศ / ตัวแทนสารสนเทศประเภทของผู้ใช้ จำแนกโดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ เช่น ลักษณะของสารสนเทศ องค์กรที่ผู้ใช้ทำงานอยู่ ลักษณะของงานหรืออาชีพ ความหลากหลายของผู้ใช้ เป็นเหตุผลสำคัญของการศึกษาผู้ใช้ ความสัมพันธ์ของผู้ใช้กับระบบ ผู้ใช้มีความสำคัญต่อ การออกแบบระบบและการจัดบริการสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ

7 12. 1. 2 การศึกษาผู้ใช้. - ความหมาย ขอบเขต. - ประเภทของการศึกษาผู้ใช้
การศึกษาผู้ใช้ - ความหมาย ขอบเขต - ประเภทของการศึกษาผู้ใช้ - ผลกระทบของเทคโนโลยีที่มีต่อการศึกษาผู้ใช้ - วิธีวิจัยเกี่ยวกับผู้ใช้ - แหล่งข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้

8 การศึกษาผู้ใช้ – ความต้องการของผู้ใช้ พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และการใช้สารสนเทศ อาจจะเน้นเกี่ยวกับ ผู้ใช้ เกี่ยวกับการใช้ระบบ หรือเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้จากการใช้สารสนเทศ วัตถุประสงค์ – เพื่อให้เกิดความเข้าใจ นำความรู้ความเข้าใจมาพัฒนาบริการ และออกแบบระบบสารสนเทศที่ใช้ง่าย และมีประสิทธิภาพในการค้นหา การศึกษาผู้ใช้ – มีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์จากการเน้นระบบเป็นศูนย์กลาง มาสู่ การเน้นผู้ใช้เป็นศูนย์กลางและผนวกวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเป็นแรงผลักดันที่สำคัญ วิธีวิจัย – ระเบียบวิธีวิจัยที่นิยมใช้ได้แก่ การสำรวจ การสัมภาษณ์และการซักถามกลุ่ม การจดบันทึกประจำวัน การสังเกต การใช้หลักฐานทางเอกสาร และการทดลอง

9 12. 2. ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ 12. 2. 1
ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ แนวคิดเกี่ยวกับความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ - คำจำกัดความ และปัญหาของความต้องการ สารสนเทศของผู้ใช้ - ประเภทของความต้องการ - ความต้องการของผู้ใช้กลุ่มต่าง ๆ

10 ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ – ภาวะที่บุคคลตระหนักถึงช่องว่างทางความรู้ หรือการขาดสารสนเทศ ซึ่งผลักดันให้เกิดการแสวงหาสารสนเทศ ความต้องการสารสนเทศ – มีลักษณะเป็นพลวัต จำแนกได้ตามเงื่อนไขของเวลา ตามขอบเขตและลักษณะความต้องการ การศึกษาความต้องการสารสนเทศส่วนใหญ่วางอยู่บนแนวคิดที่ว่า การศึกษากลุ่มผู้ใช้ จะช่วยให้ทราบความต้องการของผู้ใช้กลุ่มต่าง ๆ หรือศึกษาความต้องการสารสนเทศโดยมีกิจกรรมของงานเป็นตัวกำหนด

11 12. 2. 2. การศึกษาความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้. - ความสำคัญ
การศึกษาความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ - ความสำคัญ - ความเปลี่ยนแปลงทางกรอบแนวคิด / ทฤษฎี และวิธีการศึกษา - ตัวแบบที่สำคัญ - ความต้องการสารสนเทศใน สภาพแวดล้อมทางการงาน (Wilson) - ความต้องการสารสนเทศเฉพาะบุคคล (Dervin’s Sense-making)

12 การศึกษาความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ – ช่วยให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ซึ่งจะนำมาใช้ประโยชน์ในการจัดบริการสารสนเทศ พัฒนาฐานข้อมูลของระบบค้นคืนที่มีเนื้อหาที่ผู้ใช้ต้องการ พัฒนาการของการศึกษาใน 3 ประเด็น: หัวข้อของการศึกษา ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้ในการศึกษา ตัวแปรที่ศึกษา แสดงให้เห็นความเปลี่ยนแปลงจาก การเน้นระบบเป็นศูนย์กลางมาสู่การเน้นผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง นำไปสู่การวิจัยเพื่อหาตัวแบบใหม่ ๆ

13 การศึกษาความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ – ช่วยให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ซึ่งจะนำมาใช้ประโยชน์ในการจัดบริการสารสนเทศ พัฒนาฐานข้อมูลของระบบค้นคืนที่มีเนื้อหาที่ผู้ใช้ต้องการ พัฒนาการของการศึกษาใน 3 ประเด็น: หัวข้อของการศึกษา ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้ในการศึกษา ตัวแปรที่ศึกษา แสดงให้เห็นความเปลี่ยนแปลงจาก การเน้นระบบเป็นศูนย์กลางมาสู่การเน้นผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง นำไปสู่การวิจัยเพื่อหาตัวแบบใหม่ ๆ

14 ตัวแบบใหม่ – ตัวแบบความต้องการสารสนเทศในสภาพแวดล้อมทางการงานของวิลสัน และตัวแบบ sense-making ของเดอร์วิน ตัวแบบใหม่เน้นบทบาทของผู้ใช้ในระบบค้นคืนสารสนเทศ เปลี่ยนแนวคิดที่ว่าความต้องการสารสนเทศมีลักษณะคงที่ตายตัวมาสู่ ความต้องการสารสนเทศที่แปรเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อม นำเทคนิคการวิจัยเชิงคุณภาพเข้ามาผสมผสานกับเทคนิคเชิงปริมาณ

15 หน่วยที่ 13 พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ 13
หน่วยที่ 13 พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ 13.1 แนวคิดและตัวแบบเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหา สารสนเทศ แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ - คำจำกัดความ - พัฒนาการของแนวคิด - ทฤษฎี - การแสวงหาสารสนเทศกับกระบวนการเรียนรู้ - ปัจจัยในการแสวงหาสารสนเทศ

16 พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ – กิจกรรมหรือปฏิสัมพันธ์ที่บุคคลกระทำเพื่อแสวงหาสารสนเทศอย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อตอบสนองความต้องการบางประการของผู้แสวงหา พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ – รูปแบบหนึ่งของการแสวงหาสารสนเทศ ซึ่งผู้ค้นต้องปฏิสัมพันธ์กับระบบการค้นคืนในสภาพแวดล้อมของสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์

17 พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ – มีลักษณะเป็นสหวิทยาการ ผสมผสานแนวคิด ทฤษฎีและศาสตร์จากสาขาต่าง ๆ เช่น การสื่อสาร จิตวิทยา การศึกษา สารสนเทศศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ผลการศึกษาวิจัยนำไปสู่การพัฒนาระบบสารสนเทศที่เอื้อต่อการค้นหาสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ (e.g., Principle of the Least Effort, Cognitive science, Affective domain, Sense-making) พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ – รูปแบบหนึ่งของการแสวงหาสารสนเทศ ซึ่งผู้ค้นต้องปฏิสัมพันธ์กับระบบการค้นคืนในสภาพแวดล้อมของสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์

18 ปัจจัยในการแสวงหาสารสนเทศ. 1. ผู้แสวงหาสารสนเทศ. 2
ปัจจัยในการแสวงหาสารสนเทศ 1. ผู้แสวงหาสารสนเทศ 2. ภาระงานในการแสวงหาสารสนเทศ 3. ระบบค้นหา 4. โดเมน (กลุ่มวิทยาการ องค์ความรู้ในสาขาวิชา หนึ่ง ๆ) 5. บริบท (ทางกายภาพ เศรษฐกิจ จิตวิทยา สังคม) 6. ผลการค้นหา

19 13. 1. 2. ตัวแบบเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
ตัวแบบเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ Ellis’ Behavioral Model of Information Seeking Bates’ Berrypicking Model Kuhlthau’s Information Search Process (ISP)

20 ตัวแบบเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
ตัวแบบเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ตัวแบบทั้งสามยึดผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง โดยพิจารณาถึงความต้องการหรือปัญหาสารสนเทศของผู้ใช้ที่มีลักษณะเป็นพลวัต ขึ้นอยู่กับความหลากหลายของบริบท และพฤติกรรมการแสวงหา / ค้นหาสารสนเทศที่ตรงกับความเป็นจริง ตัวแบบของเอลลิส เป็นตัวแบบทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ มีประโยชน์ต่อการออกแบบระบบการค้นคืนสารสนเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ระบบไฮเปอร์เท็กซ์

21 ตัวแบบเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
ตัวแบบเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ตัวแบบของเบทส์ เป็นตัวแบบสำหรับการค้นหาสารสนเทศระบบออนไลน์และระบบอื่น ๆ มีประโยชน์สำหรับการออกแบบระบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในส่วนของฐานข้อมูล และส่วนต่อประสาน ตัวแบบของคัลเธา สะท้อนให้เห็นประสบการณ์ร่วมของผู้ใช้ในกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ มีประโยชน์ต่อการวินิจฉัยปัญหาของผู้ใช้ และให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสมแก่ผู้ใช้

22 13. 2. กระบวนการและกลยุทธ์ในการแสวงหาสารสนเทศ. 13. 2. 1
กระบวนการและกลยุทธ์ในการแสวงหาสารสนเทศ กระบวนการแสวงหาสารสนเทศ 1. การตระหนักและยอมรับปัญหาสารสนเทศ 2. การระบุและเข้าใจปัญหา 3. การเลือกระบบค้นหา 4. การกำหนดข้อคำถาม 5. การดำเนินการค้นหา 6. การตรวจสอบผลลัพธ์ 7. การดึงสารสนเทศที่ต้องการ 8. การพิจารณา / ค้นหาซ้ำ / ยุติการค้นหา

23 13. 2. 2. กลยุทธ์ในการแสวงหาสารสนเทศ. 1
กลยุทธ์ในการแสวงหาสารสนเทศ 1. กลยุทธ์การค้นหาสารสนเทศออนไลน์ - สร้างขึ้นเพื่อช่วยให้นักสารสนเทศที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับระบบฐานข้อมูลออนไลน์สามารถค้นหาสารสนเทศมาบริการผู้ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. กลยุทธ์การสำรวจเลือกดู – เป็นแนวทางธรรมชาติในการค้นหาสารสนเทศ จึงเหมาะสำหรับผู้ใช้ปลายทาง นับเป็นกลยุทธ์สำคัญสำหรับการแสวงหาสารสนเทศในสภาพแวดล้อมทางอิเล็กทรอนิกส์

24 การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และการออกแบบส่วนต่อประสาน การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหา สารสนเทศ 1. การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการศึกษา พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ 2. แนวเรื่องที่ศึกษา 3. ระเบียบวิธีวิจัย

25 การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
1. การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการศึกษาพฤติกรรมการ แสวงหาสารสนเทศ – จากการยึดระบบเป็นศูนย์กลาง มาเป็น การเน้นผู้ใช้ 2. แนวเรื่องที่ศึกษา – เปลี่ยนจากการใช้สารสนเทศ หรือระบบ สารสนเทศ มาเป็น ความต้องการของผู้ใช้ ปัญหาทางสารสนเทศ ของผู้ใช้ ลักษณะและพฤติกรรมของผู้ใช้ การสร้างตัวแบบ 3. ระเบียบวิธีวิจัย – การนำวิธีวิจัยเชิงคุณภาพมาใช้ เพราะ วิธีวิจัยที่ใช้อยู่เดิมไม่เพียงพอที่จะค้นหาคำตอบในเรื่องที่มีความ สลับซับซ้อน และเป็นพลวัต

26 13. 3. 2 การออกแบบส่วนต่อประสาน. 1. คำจำกัดความ. 2
การออกแบบส่วนต่อประสาน 1. คำจำกัดความ 2. ส่วนประกอบของส่วนต่อประสาน - ส่วนประกอบด้านกายภาพ - ส่วนประกอบด้านแนวคิด 3. เกณฑ์ในการออกแบบ - ผู้ใช้ระบบ - หลักการออกแบบ 4. พัฒนาการของการออกแบบส่วนต่อ ประสาน

27 ส่วนต่อประสาน – ช่องทางสื่อสารระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือระบบสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนประกอบของส่วนต่อประสาน - ส่วนประกอบด้านกายภาพ (อุปกรณ์ที่อำนวยความสะดวกในการนำเข้าและส่งออกข้อมูล เช่น แผงแป้นพิมพ์ เครื่องพิมพ์) - ส่วนประกอบด้านแนวคิด (แบบปฏิสัมพันธ์ โครงสร้างตัวแทนความรู้ กลไกในการค้นหา)

28 การออกแบบระบบ. 1. ผู้ใช้ระบบสารสนเทศ. - ประเภทของผู้ใช้
การออกแบบระบบ 1. ผู้ใช้ระบบสารสนเทศ - ประเภทของผู้ใช้ - ปัจจัยทางวัฒนธรรม - ความรู้ในการใช้ระบบสารสนเทศของผู้ใช้ 2. หลักการออกแบบ เน้นการออกแบบที่ทำให้ผู้ใช้ประสบความสำเร็จ และเพลิดเพลิน พึงพอใจในการใช้

29 พัฒนาการของการออกแบบส่วนต่อประสาน
พัฒนาการของการออกแบบส่วนต่อประสาน ดำเนินควบคู่ไปกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ช่วงทศวรรษ 1970 ส่วนต่อประสานประกอบด้วยเครื่องเทอร์มินัลที่มีความสามารถจำกัด แบบปฏิสัมพันธ์เป็นการใช้ภาษาคำสั่งและการเลือกเมนู ซึ่งเป็นการสั่งให้ระบบปฏิบัติการ ช่วงทศวรรษ 1980 พัฒนาเป็นส่วนต่อประสานกราฟฟิก (Graphical User Interface) แบบปฏิสัมพันธ์ ผู้ใช้ใช้ส่วนต่อประสานโดยตรง ปัจจุบัน ยังคงพัฒนาเรื่องการใช้ส่วนต่อประสานโดยตรง เน้นการออกแบบที่ให้ผู้ใช้โดยทั่วไปสามารถเข้าใจและใช้ระบบได้ด้วยตัวเอง


ดาวน์โหลด ppt ผู้ใช้และการใช้สารสนเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google