งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง กับการบรรจุแต่งตั้ง.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง กับการบรรจุแต่งตั้ง."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง กับการบรรจุแต่งตั้ง

2 ที่มา พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
ลักษณะ 4 ข้าราชการพลเรือนสามัญ   หมวด 2 การกำหนดตำแหน่ง และการให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง มาตรา 48   ให้ ก.พ. จัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง โดยจำแนกตำแหน่ง เป็นประเภทและสายงานตามลักษณะงาน และจัดตำแหน่งในประเภทเดียวกันและสายงานเดียวกันที่คุณภาพของงานเท่ากันโดยประมาณเป็นระดับเดียวกัน ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงาน  ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งให้ระบุชื่อตำแหน่งในสายงาน หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก และคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งไว้ด้วย

3 วัตถุประสงค์การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
เพื่อปรับปรุงและทบทวนสายงานในราชการพลเรือนทั้งระบบให้สะท้อนผลสัมฤทธิ์ในระบบราชการ เพื่อกำหนดขอบเขตความรับผิดชอบที่ชัดเจนอันนำไปสู่ผลสัมฤทธิ์ของงานที่ระบุได้ชัดเจน เพื่อจำแนกตำแหน่งข้าราชการเป็นกลุ่มตามลักษณะงาน การบริหารค่าตอบแทนและการวางหลักเกณฑ์การบริหารงานบุคคลที่แตกต่างกัน เพื่อประโยชน์ในการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งต่าง ๆ เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างข้าราชการ ส่วนราชการ เอกชน บุคคลทั่วไป 3 3 3

4 ประโยชน์ เป็นเครื่องมืออธิบายลักษณะงานโดยทั่วไปของตำแหน่งต่างๆ ในแต่ละสายงาน เป็นเครื่องมืออธิบายระดับตำแหน่งในแต่ละสายงาน เป็นเครื่องมืออธิบายผลสัมฤทธิ์โดยรวมของตำแหน่งต่างๆ ในแต่ละสายงาน เป็นเครื่องมือบริหารผลการปฏิบัติงานให้ผลงานสอดคล้องกับผลสัมฤทธิ์แต่ละสายงาน เป็นเครื่องมือบริหารกำลังคนให้มีความรู้ความสามารถเหมาะกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ เป็นเครื่องมือในการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการ

5 ความเป็นมา พ.ศ. 2518 ราชการไทยนำระบบการจำแนกตำแหน่ง (Pocition Classification : PC) มาใช้ในปี พ.ศ ซึ่งมีหลักการ คือการจำแนกงานที่มีความคล้ายคลึงกันรวมกันไว้เป็นกลุ่มอาชีพ (Occupational Group) และสายงาน (Class Series) เดียวกัน เพื่อความสะดวกในการกำหนดคุณสมบัติของบุคคลที่จะดำรงตำแหน่งไว้ในกลุ่มเดียวกัน เพื่อการใช้คนให้ตรงกับงาน จำแนกความยากง่ายของงานออกเป็นระดับตำแหน่ง โดยมีมาตรฐานกลาง (Common Level) ไว้เป็นมาตรฐานในการเปรียบเทียบ เป็นบรรทัดฐานในการบริหารงานบุคคล โดยการจัดทำเป็นรูปแบบมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ก้าวเดินของระบบข้าราชการของเรา พ.ร.บ. ฯ เป็น พ.ร.บ. ฯ ฉบับแรก ตราขึ้นตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ให้แนวทางและปรัชญารากฐานในการเป็นข้าราชการไว้ว่า ด้วยมีพระราชประสงค์จะทรงวางระเบียบข้าราชการพลเรือน ให้เป็นไปในทางเลือกสรรผู้มีความรู้และความสามารถเข้ารับราชการเป็นอาชีพ โดยไม่กังวลด้วยการแสวงหาประโยชน์ในทางอื่น คือ สามารถดำรงชีพจากเงินเดือนจากงานราชการเพียงงานเดียว ดังนั้น การที่จะต้องจ่ายเงินเดือนให้ข้าราชการทุกคนเสมือนหนึ่งต้องทำงานตลอด 24 ชั่วโมงได้ จึงเป็นเงื่อนไขสำคัญและถูกวางรากฐานเจตนารมณ์ไว้แต่แรก นี่คือประโยชน์ของข้าราชการ ประโยชน์ต่อสังคมและส่วนราชการ คือ การสะพรั่งพร้อมด้วยข้าราชการที่มีความสามารถ มีความรอบรู้ในวิถี (ขั้นตอนระเบียบต่างๆ) และอุบาย (ยุทธศาสตร์ + ความแนบเนียน ) ของราชการ กับทั้งหน้าที่และวินัยอันตนพึงรักษาเป็นนิจกาล และการบริหารงานบุคคลนั้นยึดโยงกับระบบชั้นยศ พ.ร.บ. ฯ 2518 เป็นก้าวที่ 2 เน้น job หลักการที่เป็นหัวใจพ.ร.บ.ฯ ฉบับนี้ คือใช้ตัวตำแหน่งเป็นตัวตั้งในการกำหนดเงินเดือนและบริหารบุคคลต่าง ๆ จึงได้มีการกำหนดตำแหน่ง รายละเอียดหน้าที่ของแต่ละตำแหน่ง และเงื่อนไขของคุณสมบัติผู้ดำรงตำแหน่งเอาไว้ จากนั้นก็เป็นกลุ่มตำแหน่ง แล้วเป็นสายงาน แต่จุดอ่อนของระบบนี้ คือ ระบบเงินเดือนซึ่งใช้มาตรฐานเดียวกัน คือ 1-11 แล้วก็ใช้บัญชีเดียว Common level หรือคนไทยชอบเรียกว่า C พ.ร.บ. ฯ 2551 เป็นก้าวที่ 3 จะเป็นกลไกเปลี่ยนแปลงเรื่องอาชีพและเรื่องเงินเดือน ดังนั้นหัวใจของพ.ร.บ.ฯ ฉบับนี้ จึงอยู่ที่การไม่มีระดับกลางอีกต่อไป แต่เราจะมีกลุ่มประเภทตำแหน่ง 4 กลุ่มตำแหน่ง และมี 4 บัญชีเงินเดือนตามกลุ่ม การเทียบตำแหน่งเทียบโดย job หัวใจของ พ.ร.บ. ฯ ฉบับนี้ อยู่ที่การเน้นความสามารถของบุคคล 5

6 วิวัฒนาการการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
ก้าวที่ 1 พ.ร.บ ม.33 ก.พ. เป็นผู้จัดทำทุก สายงาน ส่วนประกอบเป็นไปตาม ข้อกฎหมาย สาระเน้นเนื้อหาข้อความ ที่กำหนดขึ้นเป็นรูปแบบ เดียวกัน การปรับปรุงเป็นไป ตามที่ สรก. แจ้งความ จำเป็น “มาตรฐานกำหนดตำแหน่งให้แสดงชื่อ ของตำแหน่ง หน้าที่และความรับผิดชอบของตำแหน่ง ลักษณะงานที่ปฏิบัติ คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งที่ผู้ดำรงตำแหน่งจะต้องมี และระดับตำแหน่ง” ซึ่ง ก.พ. ได้จัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งตามกฎหมายดังกล่าว จำนวน 233 สายงาน ก้าวเดินของระบบข้าราชการของเรา พ.ร.บ. ฯ เป็น พ.ร.บ. ฯ ฉบับแรก ตราขึ้นตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ให้แนวทางและปรัชญารากฐานในการเป็นข้าราชการไว้ว่า ด้วยมีพระราชประสงค์จะทรงวางระเบียบข้าราชการพลเรือน ให้เป็นไปในทางเลือกสรรผู้มีความรู้และความสามารถเข้ารับราชการเป็นอาชีพ โดยไม่กังวลด้วยการแสวงหาประโยชน์ในทางอื่น คือ สามารถดำรงชีพจากเงินเดือนจากงานราชการเพียงงานเดียว ดังนั้น การที่จะต้องจ่ายเงินเดือนให้ข้าราชการทุกคนเสมือนหนึ่งต้องทำงานตลอด 24 ชั่วโมงได้ จึงเป็นเงื่อนไขสำคัญและถูกวางรากฐานเจตนารมณ์ไว้แต่แรก นี่คือประโยชน์ของข้าราชการ ประโยชน์ต่อสังคมและส่วนราชการ คือ การสะพรั่งพร้อมด้วยข้าราชการที่มีความสามารถ มีความรอบรู้ในวิถี (ขั้นตอนระเบียบต่างๆ) และอุบาย (ยุทธศาสตร์ + ความแนบเนียน ) ของราชการ กับทั้งหน้าที่และวินัยอันตนพึงรักษาเป็นนิจกาล และการบริหารงานบุคคลนั้นยึดโยงกับระบบชั้นยศ พ.ร.บ. ฯ 2518 เป็นก้าวที่ 2 เน้น job หลักการที่เป็นหัวใจพ.ร.บ.ฯ ฉบับนี้ คือใช้ตัวตำแหน่งเป็นตัวตั้งในการกำหนดเงินเดือนและบริหารบุคคลต่าง ๆ จึงได้มีการกำหนดตำแหน่ง รายละเอียดหน้าที่ของแต่ละตำแหน่ง และเงื่อนไขของคุณสมบัติผู้ดำรงตำแหน่งเอาไว้ จากนั้นก็เป็นกลุ่มตำแหน่ง แล้วเป็นสายงาน แต่จุดอ่อนของระบบนี้ คือ ระบบเงินเดือนซึ่งใช้มาตรฐานเดียวกัน คือ 1-11 แล้วก็ใช้บัญชีเดียว Common level หรือคนไทยชอบเรียกว่า C พ.ร.บ. ฯ 2551 เป็นก้าวที่ 3 จะเป็นกลไกเปลี่ยนแปลงเรื่องอาชีพและเรื่องเงินเดือน ดังนั้นหัวใจของพ.ร.บ.ฯ ฉบับนี้ จึงอยู่ที่การไม่มีระดับกลางอีกต่อไป แต่เราจะมีกลุ่มประเภทตำแหน่ง 4 กลุ่มตำแหน่ง และมี 4 บัญชีเงินเดือนตามกลุ่ม การเทียบตำแหน่งเทียบโดย job หัวใจของ พ.ร.บ. ฯ ฉบับนี้ อยู่ที่การเน้นความสามารถของบุคคล

7 ความเป็นมา (ต่อ) พ.ศ. 2521 14 มีนาคม 2521
กำหนดตำแหน่งในสายงานต่างๆ เป็นระดับควบ ก้าวเดินของระบบข้าราชการของเรา พ.ร.บ. ฯ เป็น พ.ร.บ. ฯ ฉบับแรก ตราขึ้นตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ให้แนวทางและปรัชญารากฐานในการเป็นข้าราชการไว้ว่า ด้วยมีพระราชประสงค์จะทรงวางระเบียบข้าราชการพลเรือน ให้เป็นไปในทางเลือกสรรผู้มีความรู้และความสามารถเข้ารับราชการเป็นอาชีพ โดยไม่กังวลด้วยการแสวงหาประโยชน์ในทางอื่น คือ สามารถดำรงชีพจากเงินเดือนจากงานราชการเพียงงานเดียว ดังนั้น การที่จะต้องจ่ายเงินเดือนให้ข้าราชการทุกคนเสมือนหนึ่งต้องทำงานตลอด 24 ชั่วโมงได้ จึงเป็นเงื่อนไขสำคัญและถูกวางรากฐานเจตนารมณ์ไว้แต่แรก นี่คือประโยชน์ของข้าราชการ ประโยชน์ต่อสังคมและส่วนราชการ คือ การสะพรั่งพร้อมด้วยข้าราชการที่มีความสามารถ มีความรอบรู้ในวิถี (ขั้นตอนระเบียบต่างๆ) และอุบาย (ยุทธศาสตร์ + ความแนบเนียน ) ของราชการ กับทั้งหน้าที่และวินัยอันตนพึงรักษาเป็นนิจกาล และการบริหารงานบุคคลนั้นยึดโยงกับระบบชั้นยศ พ.ร.บ. ฯ 2518 เป็นก้าวที่ 2 เน้น job หลักการที่เป็นหัวใจพ.ร.บ.ฯ ฉบับนี้ คือใช้ตัวตำแหน่งเป็นตัวตั้งในการกำหนดเงินเดือนและบริหารบุคคลต่าง ๆ จึงได้มีการกำหนดตำแหน่ง รายละเอียดหน้าที่ของแต่ละตำแหน่ง และเงื่อนไขของคุณสมบัติผู้ดำรงตำแหน่งเอาไว้ จากนั้นก็เป็นกลุ่มตำแหน่ง แล้วเป็นสายงาน แต่จุดอ่อนของระบบนี้ คือ ระบบเงินเดือนซึ่งใช้มาตรฐานเดียวกัน คือ 1-11 แล้วก็ใช้บัญชีเดียว Common level หรือคนไทยชอบเรียกว่า C พ.ร.บ. ฯ 2551 เป็นก้าวที่ 3 จะเป็นกลไกเปลี่ยนแปลงเรื่องอาชีพและเรื่องเงินเดือน ดังนั้นหัวใจของพ.ร.บ.ฯ ฉบับนี้ จึงอยู่ที่การไม่มีระดับกลางอีกต่อไป แต่เราจะมีกลุ่มประเภทตำแหน่ง 4 กลุ่มตำแหน่ง และมี 4 บัญชีเงินเดือนตามกลุ่ม การเทียบตำแหน่งเทียบโดย job หัวใจของ พ.ร.บ. ฯ ฉบับนี้ อยู่ที่การเน้นความสามารถของบุคคล กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเลื่อนตำแหน่งในระดับควบ เป็นผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับแนวคิดและแนวทางในการกำหนดให้มีสายงาน โดยมีการจัดสายงานตามคุณวุฒิการศึกษา 7

8 วิวัฒนาการการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
ก้าวที่ 2 “ให้ ก.พ.จัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งไว้เป็นบรรทัดฐาน ในการกำหนดตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญทุกตำแหน่ง รวมทั้งมุ่งเน้นให้ส่วนราชการต่างๆ มีส่วนร่วมในการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง” พ.ร.บ ม.42 การปรับปรุงดำเนินการ ควบคู่ไปกับการปรับปรุง สายงาน การปรับปรุงมุ่งเน้นการแก้ ปัญหาการนำไปใช้และ สอดคล้องกับข้อกฎหมาย กำหนดแนวทางการเขียน แบบเปิดกว้าง เน้นข้อเท็จ จริงและสอดคล้องกับ ลักษณะงาน ปรับให้สอดคล้องกับข้อ กฎหมายและหลักสากล ปี พ.ศ มีจำนวน 424 สายงาน ก้าวเดินของระบบข้าราชการของเรา พ.ร.บ. ฯ เป็น พ.ร.บ. ฯ ฉบับแรก ตราขึ้นตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ให้แนวทางและปรัชญารากฐานในการเป็นข้าราชการไว้ว่า ด้วยมีพระราชประสงค์จะทรงวางระเบียบข้าราชการพลเรือน ให้เป็นไปในทางเลือกสรรผู้มีความรู้และความสามารถเข้ารับราชการเป็นอาชีพ โดยไม่กังวลด้วยการแสวงหาประโยชน์ในทางอื่น คือ สามารถดำรงชีพจากเงินเดือนจากงานราชการเพียงงานเดียว ดังนั้น การที่จะต้องจ่ายเงินเดือนให้ข้าราชการทุกคนเสมือนหนึ่งต้องทำงานตลอด 24 ชั่วโมงได้ จึงเป็นเงื่อนไขสำคัญและถูกวางรากฐานเจตนารมณ์ไว้แต่แรก นี่คือประโยชน์ของข้าราชการ ประโยชน์ต่อสังคมและส่วนราชการ คือ การสะพรั่งพร้อมด้วยข้าราชการที่มีความสามารถ มีความรอบรู้ในวิถี (ขั้นตอนระเบียบต่างๆ) และอุบาย (ยุทธศาสตร์ + ความแนบเนียน ) ของราชการ กับทั้งหน้าที่และวินัยอันตนพึงรักษาเป็นนิจกาล และการบริหารงานบุคคลนั้นยึดโยงกับระบบชั้นยศ พ.ร.บ. ฯ 2518 เป็นก้าวที่ 2 เน้น job หลักการที่เป็นหัวใจพ.ร.บ.ฯ ฉบับนี้ คือใช้ตัวตำแหน่งเป็นตัวตั้งในการกำหนดเงินเดือนและบริหารบุคคลต่าง ๆ จึงได้มีการกำหนดตำแหน่ง รายละเอียดหน้าที่ของแต่ละตำแหน่ง และเงื่อนไขของคุณสมบัติผู้ดำรงตำแหน่งเอาไว้ จากนั้นก็เป็นกลุ่มตำแหน่ง แล้วเป็นสายงาน แต่จุดอ่อนของระบบนี้ คือ ระบบเงินเดือนซึ่งใช้มาตรฐานเดียวกัน คือ 1-11 แล้วก็ใช้บัญชีเดียว Common level หรือคนไทยชอบเรียกว่า C พ.ร.บ. ฯ 2551 เป็นก้าวที่ 3 จะเป็นกลไกเปลี่ยนแปลงเรื่องอาชีพและเรื่องเงินเดือน ดังนั้นหัวใจของพ.ร.บ.ฯ ฉบับนี้ จึงอยู่ที่การไม่มีระดับกลางอีกต่อไป แต่เราจะมีกลุ่มประเภทตำแหน่ง 4 กลุ่มตำแหน่ง และมี 4 บัญชีเงินเดือนตามกลุ่ม การเทียบตำแหน่งเทียบโดย job หัวใจของ พ.ร.บ. ฯ ฉบับนี้ อยู่ที่การเน้นความสามารถของบุคคล ปี พ.ศ มีจำนวน 449 สายงาน ปี พ.ศ มีจำนวน 462 สายงาน 8

9 ก้าวที่ 3 วิวัฒนาการการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง พ.ร.บ. 2551 ม.48
มาตรฐานกำหนดตำแหน่งข้าราชการพลเรือน พ.ร.บ ม.48 ส.กพ. ร่วมกับ สรก. จัดทำ ส่วนประกอบเป็นไปตาม ข้อกฎหมาย ปรับปรุงไปพร้อมกับการ ปรับปรุง /ยุบเลิก/ยุบรวม/และ เพิ่มสายงานให้เหมาะกับ ลักษณะงาน ของ สรก. สาระเน้นเนื้อหาที่แสดงถึง ลักษณะงาน ระดับความ รับผิดชอบ และระดับความ ยากง่ายของงานของ ตำแหน่ง ในระดับนั้นๆ กระจายอำนาจให้ส่วนราชการ รูปแบบการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ส่งเสริมให้ข้าราชการพัฒนาและใช้สมรรถนะอย่างสัมฤทธิ์ผล ก้าวเดินของระบบข้าราชการของเรา พ.ร.บ. ฯ เป็น พ.ร.บ. ฯ ฉบับแรก ตราขึ้นตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ให้แนวทางและปรัชญารากฐานในการเป็นข้าราชการไว้ว่า ด้วยมีพระราชประสงค์จะทรงวางระเบียบข้าราชการพลเรือน ให้เป็นไปในทางเลือกสรรผู้มีความรู้และความสามารถเข้ารับราชการเป็นอาชีพ โดยไม่กังวลด้วยการแสวงหาประโยชน์ในทางอื่น คือ สามารถดำรงชีพจากเงินเดือนจากงานราชการเพียงงานเดียว ดังนั้น การที่จะต้องจ่ายเงินเดือนให้ข้าราชการทุกคนเสมือนหนึ่งต้องทำงานตลอด 24 ชั่วโมงได้ จึงเป็นเงื่อนไขสำคัญและถูกวางรากฐานเจตนารมณ์ไว้แต่แรก นี่คือประโยชน์ของข้าราชการ ประโยชน์ต่อสังคมและส่วนราชการ คือ การสะพรั่งพร้อมด้วยข้าราชการที่มีความสามารถ มีความรอบรู้ในวิถี (ขั้นตอนระเบียบต่างๆ) และอุบาย (ยุทธศาสตร์ + ความแนบเนียน ) ของราชการ กับทั้งหน้าที่และวินัยอันตนพึงรักษาเป็นนิจกาล และการบริหารงานบุคคลนั้นยึดโยงกับระบบชั้นยศ พ.ร.บ. ฯ 2518 เป็นก้าวที่ 2 เน้น job หลักการที่เป็นหัวใจพ.ร.บ.ฯ ฉบับนี้ คือใช้ตัวตำแหน่งเป็นตัวตั้งในการกำหนดเงินเดือนและบริหารบุคคลต่าง ๆ จึงได้มีการกำหนดตำแหน่ง รายละเอียดหน้าที่ของแต่ละตำแหน่ง และเงื่อนไขของคุณสมบัติผู้ดำรงตำแหน่งเอาไว้ จากนั้นก็เป็นกลุ่มตำแหน่ง แล้วเป็นสายงาน แต่จุดอ่อนของระบบนี้ คือ ระบบเงินเดือนซึ่งใช้มาตรฐานเดียวกัน คือ 1-11 แล้วก็ใช้บัญชีเดียว Common level หรือคนไทยชอบเรียกว่า C พ.ร.บ. ฯ 2551 เป็นก้าวที่ 3 จะเป็นกลไกเปลี่ยนแปลงเรื่องอาชีพและเรื่องเงินเดือน ดังนั้นหัวใจของพ.ร.บ.ฯ ฉบับนี้ จึงอยู่ที่การไม่มีระดับกลางอีกต่อไป แต่เราจะมีกลุ่มประเภทตำแหน่ง 4 กลุ่มตำแหน่ง และมี 4 บัญชีเงินเดือนตามกลุ่ม การเทียบตำแหน่งเทียบโดย job หัวใจของ พ.ร.บ. ฯ ฉบับนี้ อยู่ที่การเน้นความสามารถของบุคคล ตอบสนองความต้องการของสังคมและประชาชน 9

10 แนวทางการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
ก.พ. เป็นผู้จัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งสำหรับทุกประเภทตำแหน่ง และทุกสายงาน ส่วนราชการมีส่วนร่วมในการจัดทำให้สอดคล้องกับข้อเท็จจริงและลักษณะงานตามความจำเป็นของส่วนราชการ กำหนดสายงานให้เปิดกว้าง รวมสายงานที่มีลักษณะคล้ายกันเข้าด้วยกัน โดยส่วนราชการสามารถใช้ดุลพินิจในการสรรหา แต่งตั้ง โอน ย้าย ได้ตามความต้องการของงานอย่างแท้จริง ส่วนประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่งเป็นไปตามข้อกฎหมาย ชื่อตำแหน่งในสายงาน หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง สาระของมาตรฐานกำหนดตำแหน่งเน้นเนื้อหาข้อความที่กำหนดขึ้นเป็นรูปแบบเดียวกัน การปรับปรุงแก้ไข เพิ่มเติม มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง จะพิจารณาให้เป็นไปตามที่ส่วนราชการแจ้งความจำเป็นมาเป็นหลัก

11 แนวทางการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
เขียนถึงระดับชำนาญงาน ทุกสายงาน เขียนถึงระดับอาวุโส เฉพาะสายงานที่มีการกำหนดระดับตำแหน่งนี้อยู่ในปัจจุบัน ประเภททั่วไป เขียนถึงระดับชำนาญการพิเศษ ทุกสายงาน เขียนถึงระดับเชี่ยวชาญ หรือ คุณวุฒิ เฉพาะสายงานที่มีการกำหนดระดับ ตำแหน่งนี้อยู่ในปัจจุบัน ประเภทวิชาการ ประเภทอำนวยการ เขียน 3 สายงาน ได้แก่ (1) อำนวยการ (2) อำนวยการเฉพาะด้าน ( 3 ) ตรวจราชการกรม เขียน 4 สายงาน ได้แก่ (1) บริหาร (2) บริหารการทูต (3) บริหารงานปกครอง (4) ตรวจราชการกระทรวง ประเภทบริหาร

12 บทกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 45 จัดประเภทตำแหน่งข้าราชการ มี 4 ประเภท มาตรา 46 จัดระดับตำแหน่งข้าราชการ มาตรา 47 การกำหนดตำแหน่งในส่วนราชการต้องเป็นไปตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งตามมาตรา 48 มาตรา 48 ให้ ก.พ. จัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง โดยจำแนกตำแหน่ง เป็นประเภทและสายงานตามลักษณะงาน และจัดตำแหน่งในประเภทเดียวกันและสายงานเดียวกันที่คุณภาพงานเท่ากันโดยประมาณเป็นระดับเดียวกัน ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงาน ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งให้ระบุชื่อตำแหน่งในสายงาน หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก และคุณสมบัติเฉพาะสำรับตำแหน่งไว้ด้วย

13 ยุบรวม 192 สายงาน เหลือ 81 สายงาน
การปรับปรุงสายงาน ปัจจุบัน ใหม่ 465 สายงาน 245 สายงาน ยุบรวม 192 สายงาน เหลือ 81 สายงาน บริหาร 4 สายงาน อำนวยการ 3 สายงาน เพิ่มใหม่ 12 สายงาน วิชาการ 149 สายงาน ยกเลิก 120 สายงาน ทั่วไป 89 สายงาน

14 องค์ประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเมือง พ.ศ. 2551 องค์ ประกอบ ตาม ม. 48 ชื่อตำแหน่งในสายงาน หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ตำแหน่งประเภท ชื่อสายงาน ระดับตำแหน่ง ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็น สำหรับตำแหน่ง เลขรหัส/วันที่จัดทำ องค์ ประกอบ อื่น ๆ

15 องค์ประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 รหัสมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ตำแหน่งประเภท ชื่อสายงาน ชื่อตำแหน่งในสายงาน ระดับตำแหน่ง………………………. หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก 1. ด้าน (1) (2) 2. ด้าน (1) คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง 1. คุณวุฒิการศึกษา 2. ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง 3. ประสบการณ์ปฏิบัติราชการหรือ งานที่เกี่ยวข้อง 4. คุณสมบัติพิเศษ เงินเดือนขั้นสูงสำหรับบางสายงาน ความรู้ความสามารถ ทักษะ และ สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง วันที่จัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง

16 องค์ประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
(รหัสมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง) ตำแหน่งประเภท ชื่อสายงาน ชื่อตำแหน่งในสายงาน ระดับตำแหน่ง หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก 1. ด้าน (1) (2) 2. ด้าน

17 รหัสมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
X - X - X X X - X กลุ่มสายงาน สายงาน ระดับตำแหน่ง ประเภทตำแหน่ง 1 . ประเภทบริหาร 2 . ประเภทอำนวยการ 3 . ประเภทวิชาการ 4 . ประเภททั่วไป 1. กลุ่มงานบริหาร อำนวยการ ธุรการ งานสถิติ งานนิติการ งานการทูตและต่างประเทศ 2. กลุ่มงานการคลัง การเศรษฐกิจ การพาณิชย์และอุตสาหกรรม 3. กลุ่มงานคมนาคม ขนส่ง และ ติดต่อสื่อสาร 4. กลุ่มงานเกษตรกรรม 5. กลุ่มงานวิทยาศาสตร์ 6. กลุ่มงานแพทย์ พยาบาลและสาธารณสุข 7. กลุ่มงานวิศวกรรม สถาปัตยกรรม และช่างเทคนิคต่างๆ 8. กลุ่มงานการศึกษา ศิลปะ สังคม และการพัฒนาชุมชน 001 บริหาร 002 บริหารงานปกครอง 003 บริหารการทูต 004 ตรวจราชการกระทรวง 1 บริหารระดับต้น 2 บริหารระดับสูง 1 อำนวยการระดับต้น 2 อำนวยการระดับสูง

18 ตัวอย่าง รหัสมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ชื่อตำแหน่งในสายงาน ระดับตำแหน่ง
นักบริหาร ระดับต้น ผู้อำนวยการเฉพาะด้าน ระดับสูง นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการพิเศษ นายแพทย์ ทรงคุณวุฒิ นายช่างโยธา ชำนาญงาน

19 องค์ประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
(รหัสมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง) ตำแหน่งประเภท ชื่อสายงาน ชื่อตำแหน่งในสายงาน ระดับตำแหน่ง หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก 1. ด้าน (1) (2) 2. ด้าน

20 ตำแหน่งประเภท (มาตรา 45)
ตำแหน่งประเภท (มาตรา 45) (๑) ตำแหน่งประเภทบริหาร ได้แก่ ตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการและรองหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง กรม และตำแหน่งอื่นที่ ก.พ. กำหนดเป็นตำแหน่งประเภทบริหาร  (๒) ตำแหน่งประเภทอำนวยการ ได้แก่ ตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการที่ต่ำกว่าระดับกรม และตำแหน่งอื่นที่ ก.พ. กำหนดเป็นตำแหน่งประเภทอำนวยการ  (๓) ตำแหน่งประเภทวิชาการ ได้แก่ ตำแหน่งที่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตามที่ ก.พ. กำหนดเพื่อปฏิบัติงานในหน้าที่ของตำแหน่งนั้น  (๔) ตำแหน่งประเภททั่วไป ได้แก่ ตำแหน่งที่ไม่ใช่ตำแหน่งประเภทบริหาร ตำแหน่งประเภทอำนวยการ และตำแหน่งประเภทวิชาการ ทั้งนี้ ตามที่ ก.พ. กำหนด

21 องค์ประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
(รหัสมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง) ตำแหน่งประเภท ชื่อสายงาน ชื่อตำแหน่งในสายงาน ระดับตำแหน่ง หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก 1. ด้าน (1) (2) 2. ด้าน

22 การกำหนดชื่อสายงานและชื่อตำแหน่งในสายงาน
ตำแหน่งประเภท ชื่อสายงาน ชื่อตำแหน่งในสายงาน บริหาร บริหารงานปกครอง บริหารการทูต ตรวจราชการกระทรวง นักบริหาร นักปกครอง นักบริหารการทูต ผู้ตรวจราชการกระทรวง บริหาร อำนวยการ อำนวยการเฉพาะด้าน เช่น - อำนวยการเฉพาะด้าน (แพทย์ ) - อำนวยการเฉพาะด้าน(วิศวกรรมโยธา) - อำนวยการเฉพาะด้าน (นิติการ) ตรวจราชการกรม ผู้อำนวยการ ผู้อำนวยการเฉพาะด้าน เช่น - ผู้อำนวยการเฉพาะด้าน (แพทย์ ) - ผู้อำนวยการเฉพาะด้าน(วิศวกรรมโยธา) - ผู้อำนวยการเฉพาะด้าน(นิติการ) ผู้ตรวจราชการกรม อำนวยการ หมายเหตุ อำนวยการเฉพาะด้าน หมายถึงสายงานที่มีลักษณะงานวิชาชีพเฉพาะ /กำหนดคุณวุฒิเฉพาะทาง

23 การกำหนดชื่อสายงานและชื่อตำแหน่งในสายงาน
ตำแหน่งประเภท ชื่อสายงาน ชื่อตำแหน่งในสายงาน ใช้คำว่า “วิชาการ...” เช่น วิชาการพัสดุ วิชาการแรงงาน ใช้คำตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ เช่น สังคมสงเคราะห์ คงชื่อสายงานเฉพาะไว้ เช่น อาลักษณ์ ใช้คำว่า “นักวิชาการ...” เช่น นักวิชาการพัสดุ ใช้คำว่า “นัก...” เช่น นักสังคมสงเคราะห์ คงชื่อตำแหน่งเฉพาะไว้ เช่น อาลักษณ์, เจ้าพนักงานปกครอง วิชาการ ใช้คำว่า “ปฏิบัติงาน.....” เช่น ปฏิบัติงานราชทัณฑ์, ปฏิบัติงานช่างโลหะ คงชื่อสายงานเฉพาะไว้ เช่น นาฏศิลป์, คีตศิลป์ ใช้คำว่า “เจ้าพนักงาน....” เช่น เจ้าพนักงานราชทัณฑ์ ใช้คำว่า “นายช่าง...” เช่น นายช่างโลหะ คงชื่อตำแหน่งเฉพาะไว้ เช่น นาฏศิลปิน ทั่วไป

24 ชื่อตำแหน่ง ชื่อตำแหน่งในสายงาน ชื่อตำแหน่งในการบริหารงาน นักบริหาร
กำหนดขึ้นตามมาตรา 44 ซึ่งไม่ได้กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง เช่น กำหนดขึ้นตามลักษณะงาน เช่น นักบริหาร ผู้อำนวยการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ปลัดกระทรวง /อธิบดี ผู้อำนวยการสำนัก / กอง นักวิเคราะห์นโยบายและแผน

25 องค์ประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
(รหัสมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง) ตำแหน่งประเภท ชื่อสายงาน ชื่อตำแหน่งในสายงาน ระดับตำแหน่ง หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก 1. ด้าน (1) (2) 2. ด้าน

26 ระดับตำแหน่ง : ประเภทบริหาร
สายงานในตำแหน่งประเภทบริหาร บริหาร บริหารงานปกครอง บริหารการทูต ผู้ตรวจราชการ กระทรวง ตำแหน่งรองอธิบดี, รองผู้ว่าราชการจังหวัด, ปลัดกระทรวง, รองปลัดกระทรวง, อธิบดี, ผู้ว่าราชการจังหวัด, เอกอัครราชทูต, ผู้ตรวจราชการ ระดับกระทรวง บริหาร ระดับสูง บริหาร ระดับต้น ตำแหน่งประเภทบริหาร หมายถึง ตำแหน่งที่มีอำนาจหน้าที่ในการบริหารงานในฐานะที่เป็นหัวหน้าส่วนราชการหรือรองหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวงหรือกรม ตำแหน่งที่มีฐานะเป็นผู้ปฏิบัติงานตรวจและแนะนำการปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับกระทรวง 4

27 ระดับตำแหน่ง : ประเภทอำนวยการ
สายงานในตำแหน่งประเภทอำนวยการ อำนวยการ อำนวยการเฉพาะด้าน ตรวจราชการกรม อำนวยการ ระดับสูง อำนวยการ ระดับต้น ตำแหน่งประเภทอำนวยการ หมายถึง ตำแหน่งที่มีอำนาจหน้าที่ในการบริหารงานในฐานะหัวหน้าส่วนราชการที่ต่ำกว่ากรม ซึ่งมีการแบ่งส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 27

28 ระดับตำแหน่ง : ประเภทวิชาการ
ผลงานเป็นที่ประจักษ์และยอมรับในระดับชาติ ปฏิบัติงาน/ให้คำปรึกษาระดับกระทรวง ที่ต้องตัดสินใจ หรือแก้ปัญหาที่ยากและซับซ้อนมากเป็นพิเศษ หรือมีผล กระทบระดับนโยบายกระทรวงหรือระดับชาติ ระดับทรงคุณวุฒิ เชี่ยวชาญด้านวิชาการ ปฏิบัติงาน/ให้คำปรึกษาระดับ กระทรวงหรือกรมที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาในทาง วิชาการที่ยากและซับซ้อนมาก และมีผลกระทบในวงกว้าง ระดับเชี่ยวชาญ ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ฯ /หัวหน้าหน่วยงานซึ่งต้อง กำกับ ตรวจสอบ แนะนำผู้ร่วมปฏิบัติงาน และปฏิบัติงาน ที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาที่ยากมาก ระดับชำนาญการ พิเศษ ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ฯ /หัวหน้าหน่วยงานซึ่งต้อง กำกับ ตรวจสอบ แนะนำผู้ร่วมปฏิบัติงาน และปฏิบัติงาน ที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาที่ยาก ระดับชำนาญการ ตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานภายใต้ การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ ระดับปฏิบัติการ 28

29 ระดับตำแหน่ง : ประเภททั่วไป
ตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีทักษะพิเศษเฉพาะตัว โดยมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และผลงานเป็นที่ประจักษ์ปฏิบัติงาน ที่ต้องคิดริเริ่มสร้างสรรค์ด้วยตนเองและเป็นที่ยอมรับระดับชาติ ทักษะพิเศษ ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ฯ ความชำนาาญงานค่อนข้างสูง ในงานเทคนิคเฉพาะด้าน หรือใช้ทักษะความชำนาญเฉพาะตัว หรือหัวหน้างานที่มีงานในความรับผิดชอบที่หลากหลาย ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาที่ยากมาก อาวุโส ชำนาญงาน ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชำนาญงาน ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือ แก้ไขปัญหาที่ค่อนข้างยาก ปฏิบัติงาน ตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งปฏิบัติงานตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ฯ

30 องค์ประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
(รหัสมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง) ตำแหน่งประเภท ชื่อสายงาน ชื่อตำแหน่งในสายงาน ระดับตำแหน่ง หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก 1. ด้าน (1) (2) 2. ด้าน

31 หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
ประเภทตำแหน่ง วิชาการ Job summary ชื่อตำแหน่งในสายงาน นักทรัพยากรบุคคล ระดับตำแหน่ง ปฏิบัติการ หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างในแต่ละด้าน ดังนี้ 1. ด้านปฏิบัติการ (1) ปฏิบัติงาน (2) ศึกษา วิเคราะห์ 2. ด้านการวางแผน (1) วางแผน (2) เสนอแนะ 3. ด้านการประสานงาน (1) ประสาน

32 หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก (ต่อ)
การสรุปสาระของงาน (Job Summary) ในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก การสรุปสาระงาน หรือ Job Summary จะปรากฏอยู่ในส่วนหน้าที่ ความรับผิดชอบหลัก ซึ่งจะใช้เป็น “มาตรวัด” เบื้องต้นในการพิจารณา กำหนดระดับตำแหน่งในสายงานนั้นๆ ดังนั้น หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ของตำแหน่งแต่ละระดับได้เขียนให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ใน การกำหนดตำแหน่งสำหรับประเภทและระดับตำแหน่งนั้น ตามที่กำหนดไว้ในกฎ ก.พ. ตามมาตรา 46 19

33 หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการ ระดับปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านธุรการ สารบรรณ หรือบริการทั่วไป ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย

34 หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก เจ้าพนักงานธุรการ อาวุโส
ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้างาน ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา โดยต้อง กำกับ แนะนำ ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ร่วมปฏิบัติงาน โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชำนาญงานด้านธุรการ สารบรรณ หรือบริการทั่วไป ค่อนข้างสูง มีงานใน ความรับผิดชอบที่หลากหลาย ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาในงานที่ค่อนข้างยากมาก และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย

35 หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคล ระดับปฏิบัติการ
ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคล ระดับปฏิบัติการ ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านการบริหารหรือการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย

36 หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคล ระดับเชี่ยวชาญ
ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคล ระดับเชี่ยวชาญ ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่มีความเชี่ยวชาญในงาน โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญในด้านการบริหารหรือการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาในทางวิชาการที่ยากและซับซ้อนมากและมีผลกระทบในวงกว้าง และปฏิบัติ งานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย หรือ ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานให้คำปรึกษาของส่วนราชการระดับกระทรวง กรม ซึ่งใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญในด้านการบริหารหรือการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาในทางวิชาการที่ยากและซับซ้อนมากและมีผลกระทบ ในวงกว้าง และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย

37 แนวทางการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก (หน้างาน)
ด้านการบริหาร และกำกับดูแล ด้านการปฏิบัติการ ด้านการวางแผน ด้านการประสานงาน ด้านการบริการ O1 O2 O3 O4 K1 K2 K3 K4 K5

38 แนวทางการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก (หน้างาน)
ด้านแผนงาน ด้านบริหารงาน ด้านบริหารทรัพยากรบุคคล ด้านบริหารทรัพยากรและงบประมาณ M1 M2 S1 S2 ผู้ตรวจราชการกรม/ กระทรวง ด้านปฏิบัติการ ด้านแผนงาน ด้านประสานงาน ด้านบริหารจัดการ

39 องค์ประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง 1) คุณวุฒิการศึกษา 2) ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง 3) คุณสมบัติพิเศษ (ถ้ามี) ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง

40 องค์ประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง 1) คุณวุฒิการศึกษา 2) ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง + 3) คุณสมบัติพิเศษ (ถ้ามี) ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง กำหนดรูปแบบการเขียน คุณวุฒิการศึกษาสำหรับ ตำแหน่งระดับแรกบรรจุ เป็น 3 แบบ 1. สายงานเปิด 2. สายงานกึ่งปิด 3. สายงานปิด สกพ. + ส่วนราชการ ร่วมกำหนดคุณวุฒิให้เหมาะสมกับลักษณะงานและการสรรหา

41 แนวทางการกำหนดคุณวุฒิทางการศึกษา
สายงานเปิด “ ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาหรือทาง ที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ” O1 “ ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาหรือทางที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ k1 สำหรับลักษณะงานที่ต้องการผู้มีคุณวุฒิหลากหลาย ตามที่สรก. เห็นว่าเหมาะสม เช่น เจ้าพนักงานธุรการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักวิชาการแรงงาน เป็นต้น

42 แนวทางการกำหนดคุณวุฒิทางการศึกษา
สายงานกึ่งปิด “ได้รับประกาศนียบัตรหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาอาหารและโภชนาการ หรือสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ หรือสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ดังกล่าว ในทางที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ…” O1 “ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ หรือสาขาวิชากฎหมาย หรือสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง หรือหลายสาขาวิชาดังกล่าว ในทางที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ…” k1 สำหรับลักษณะงานที่ต้องการผู้มีคุณวุฒิบางสาขาวิชาที่กำหนดไว้เท่านั้นแต่สามารถเลือกทางในสาขาดังกล่าวได้ เช่น เจ้าพนักงานเคหกิจการเกษตร นักวิชาการคลัง เป็นต้น

43 แนวทางการกำหนดคุณวุฒิทางการศึกษา
สายงานปิด “ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรืออนุปริญญาหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาอาหารและโภชนาการ…” O1 k1 “ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใด สาขาวิชาหนึ่ง ทางคอมพิวเตอร์…” สำหรับลักษณะงานที่ต้องการผู้มีคุณวุฒิในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่งโดยเฉพาะ โดยจำเป็นต้องใช้ความรู้เฉพาะทาง เช่น โภชนากร นักวิชาการคอมพิวเตอร์ เป็นต้น

44 แนวทางการกำหนดคุณวุฒิทางการศึกษา
แบบที่ 2 “ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาสถาปัตยกรรม และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมตามที่กฎหมายกำหนด…” สายงานปิด k1 สำหรับลักษณะงานที่ต้องการผู้มีคุณวุฒิในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งโดยเฉพาะ โดยจำเป็นต้องใช้ความรู้เฉพาะทาง และต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจากองค์กรวิชาชีพตามกฎหมาย เช่น สายงานสถาปัตยกรรม เป็นต้น

45 ปริญญาตรี สาขาวิชา วิทยาศาสตร์ นำไปกำหนดใน spec ใหม่ ชื่อ นามสกุล ทาง
(วิชาเอก) ปริญญาตรี สาขาวิชา กลุ่มสาขาวิชา ปรัชญา ประเภท ปรัชญา ตะวันออก ภาษา วรรณคดี มนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ ฯลฯ ภาษาจีน สังคมศาสตร์ การจัดการ นิเทศศาสตร์ ฯลฯ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ชีววิทยา วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์กายภาพ ฟิสิกส์ ฯลฯ เกษตรศาสตร์ ประมง วิทยาศาสตร์ประยุกต์ สุขศึกษา สาธารณสุขศาสตร์ ฯลฯ

46 เทคโนโลยีทางการเกษตร เทคโนโลยีทางวิศวกรรมศาสตร์ +อุตสาหกรรม
นำไปกำหนดใน spec ใหม่ นามสกุล ชื่อ ปริญญาตรี ทาง (วิชาเอก) สาขาวิชา ประเภท บริหารธุรกิจ การตลาด วิชาชีพ ทันตแพทย์ เทคนิคการแพทย์ เทคโนโลยีทางการเกษตร เทคโนโลยี เทคโนโลยีทางวิศวกรรมศาสตร์ +อุตสาหกรรม

47 องค์ประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง 1) คุณวุฒิการศึกษา 2) ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง 3) คุณสมบัติพิเศษ (ถ้ามี) ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง ระยะเวลาดำรงตำแหน่งเป็นการสั่งสม ประสบการณ์ที่จำเป็น (expertise) สำหรับการดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น

48 ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง แนวคิดพื้นฐาน :
เหตุผลการกำหนดระยะเวลาดำรงตำแหน่ง : เพื่อเป็นหลักประกันการปฏิบัติงานในระดับที่สูงขึ้น แนวคิดพื้นฐาน : การจ้างงานในราชการเป็นการจ้างงานระยะยาว ปี จำเป็นต้องมีการสั่งสมประสบการณ์ให้เหมาะสมกับความรับผิดชอบในระดับที่สูงขึ้น ระยะเวลาต้องพิจารณาจากการรวบชั้นงานเดิมเข้าด้วยกัน ทำให้มีชั้นงานน้อยลง พิจารณาประกอบกับเงื่อนไขระยะเวลาการดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน สามารถแยกแยะระหว่างผู้ปฏิบัติงานที่มีผลงานดีเด่นกับผู้ปฏิบัติงานอื่น ระยะเวลาดำรงตำแหน่งเป็นเพียงเงื่อนไขส่วนหนึ่งของการแต่งตั้งบุคคล ให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น ต้องผสานเข้ากับระบบบริหารผลการปฏิบัติงานและสมรรถนะของบุคคล คำนึงถึงคุณภาพผลงาน ประสิทธิภาพของราชการที่จะได้รับจากการปฏิบัติงานของบุคคล คำนึงถึงโครงสร้างกำลังคนภาครัฐที่เหมาะสมกับช่วงเวลาหนึ่ง ๆ

49 กำหนดระยะเวลาดำรงตำแหน่งขั้นต่ำก่อนเลื่อน
ประเภทอำนวยการ ไม่น้อยกว่า 3 ปี ในระดับ k3 ไม่น้อยกว่า 6 ปี ในระดับ O3 ไม่น้อยกว่า 1 ปี ในระดับ M1 ไม่น้อยกว่า 4 ปี ในระดับ M1+ K3 K5 ไม่น้อยกว่า 4 ปี ในระดับ K3 ไม่น้อยกว่า 7 ปี ในระดับ O3 ไม่น้อยกว่า 7 ปี ในระดับ M1+ O3 O4 ประเภทบริหาร ไม่น้อยกว่า 2 ปี ในระดับ M S1 ไม่น้อยกว่า 1 ปี ในระดับ S1 ไม่น้อยกว่า 3 ปี ในระดับ S1+ M K5 + M 2 ปี M1 M2 S2 ประเภททั่วไป ไม่น้อยกว่า 4-6 ปี ในระดับ O O2 ไม่น้อยกว่า 6 ปี ในระดับ O O3 เงินเดือนถึงขั้นสูง ระดับ O O4 ประเภทวิชาการ ไม่น้อยกว่า 2-6 ปี ในระดับ K K2 ไม่น้อยกว่า 4 ปี ในระดับ K K3 ไม่น้อยกว่า 3 ปี ในระดับ K K4 ไม่น้อยกว่า 2 ปี ในระดับ K K5

50 การกำหนดเงินเดือนขั้นสูงสำหรับตำแหน่ง
มาตรฐานกำหนดตำแหน่งของบางสายงานได้กำหนดเงินเดือนขั้นสูงสำหรับตำแหน่งไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งด้วย ดังนี้ ประเภทวิชาการ นักกฎหมายกฤษฎีกา นายแพทย์ ให้ได้รับเงินเดือนถึงอัตราขั้นสูงของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของ ข้าราชการพลเรือนสามัญ ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับทรงคุณวุฒิ

51 การกำหนดเงินเดือนขั้นสูงสำหรับตำแหน่ง
ประเภททั่วไป เจ้าพนักงานการเกษตร เจ้าพนักงานประมง เจ้าพนักงานป่าไม้ เจ้าพนักงานสัตวบาล เจ้าพนักงานอุตุนิยมวิทยา เจ้าพนักงานอุทกวิทยา เจ้าพนักงานสาธารณสุข สัตวแพทย์ นายช่างศิลปกรรม นายช่างเครื่องกล นายช่างเทคนิค นายช่างไฟฟ้า นายช่างโยธา นายช่างรังวัด นายช่างสำรวจ นายช่างชลประทาน คีตศิลปิน ดุริยางคศิลปิน นาฏศิลปิน ให้ได้รับเงินเดือนถึงอัตราขั้นสูงของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญ ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโส

52 องค์ประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง 1) คุณวุฒิการศึกษา 2) ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง + ได้รับเงินเดือนถึงค่ากลาง (midpoint) ของระดับก่อนเลื่อน (กรณีเลื่อนระดับตำแหน่งให้สูงขึ้น) 3) คุณสมบัติพิเศษ (ถ้ามี) ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง หลักการ ส่วนราชการสามารถกำหนดให้เหมาะสมกับตำแหน่ง ตามแนวทาง (คู่มือ)ที่ ก.พ. กำหนด ก.พ. กำหนดใช้เฉพาะ สมรรถนะหลัก (5 ตัว)

53 การแบ่งประเภทความรู้ความสามารถ
ความรู้ความสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงาน สำหรับตำแหน่งประเภททั่วไปมี 4 ระดับ สำหรับตำแหน่งประเภทวิชาการมี 5 ระดับ ความรู้ความสามารถที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง สำหรับตำแหน่งประเภทอำนวยการและบริหารมี 3 ระดับ ความรู้เรื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการ มี 5 ระดับ

54 การแบ่งประเภททักษะ ทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง
การใช้คอมพิวเตอร์ - มี 5 ระดับ การใช้ภาษาอังกฤษ - มี 5 ระดับ ทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง การคำนวณ – มี 5 ระดับ การจัดการข้อมูล – มี 5 ระดับ

55 สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
“คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความรู้ ทักษะ ความสามารถ และคุณลักษณะอื่นๆ ที่ทำให้บุคคลสามารถสร้างผลงานโดดเด่นในองค์กร” สมรรถนะหลัก (Core Competencies) สมรรถนะประจำกลุ่มงาน (Functional Competencies)

56 สมรรถนะหลัก การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation)
“คุณลักษณะร่วมของข้าราชการพลเรือนไทยทั้งระบบเพื่อหล่อหลอมค่านิยมและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ร่วมกัน” ประกอบด้วย 5 สมรรถนะ ความมุ่งมั่นจะปฏิบัติราชการให้ดีหรือให้เกินมาตรฐานที่มีอยู่ โดยมาตรฐานนี้อาจเป็นผลการปฏิบัติงานที่ผ่านของตนเอง หรือเกณฑ์วัดผลสัมฤทธิ์ที่ส่วนราชการกำหนดขึ้น รวมถึงการสร้างสรรค์พัฒนาผลงานหรือกระบวนการปฏิบัติงานตามเป้าหมายที่ยากและท้าทาย การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation)

57 สมรรถนะหลัก (ต่อ) การบริการที่ดี (Service Mind)
ความตั้งใจและความพยายามของข้าราชการในการให้บริการ เพื่อสนองความต้องการของประชาชน ตลอดจนของหน่วยงานภาครัฐอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง การบริการที่ดี (Service Mind) ความขวนขวาย สนใจใฝ่รู้ เพื่อสั่งสม พัฒนา ศักยภาพ ความรู้ความสามารถของตนในการปฏิบัติราชการ ด้วยการศึกษา ค้นคว้า หาความรู้ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งรู้จักพัฒนา ปรับปรุง ประยุกต์ใช้ความรู้เชิงวิชาการและเทคโนโลยีต่างๆ เข้ากับการปฏิบัติงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise)

58 สมรรถนะหลัก (ต่อ) จริยธรรม (Integrity) ความร่วมแรงร่วมใจ (Teamwork)
การครองตนและประพฤติปฏิบัติถูกต้องเหมาะสม ทั้งตามหลักกฎหมายและคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนแนวทางในวิชาชีพของตน โดยมุ่งประโยชน์ของประเทศชาติมากกว่าประโยชน์ส่วนตน ทั้งเพื่อธำรงรักษาศักดิ์ศรีแห่งอาชีพข้าราชการ อีกทั้งเพื่อเป็นกำลังสำคัญในการสนับสนุนผลักดันให้ภารกิจของภาครัฐบรรลุเป้าหมายที่กำหนด จริยธรรม (Integrity) ความตั้งใจที่จะทำงานร่วมกับผู้อื่นเป็นส่วนหนึ่งในทีมงาน หน่วยงาน หรือองค์กร โดยผู้ปฏิบัติมีฐานะเป็นสมาชิในทีม มิใช่ในฐานะหัวหน้าทีม และความสามารถในการสร้างและดำรงรักษาสัมพันธภาพกับสมาชิกในทีม ความร่วมแรงร่วมใจ (Teamwork)

59 สมรรถนะประจำกลุ่มงาน
“สมรรถนะที่กำหนดเฉพาะกลุ่มงานเพื่อสนับสนุนให้ข้าราชการแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับหน้าที่และส่งเสริมให้ปฏิบัติภารกิจในหน้าที่ให้ดียิ่งขึ้น โดยโมเดลสมรรถนะกำหนดให้แต่ละกลุ่มงานมีสมรรถนะประจำกลุ่มงาน กลุ่มงานละ 3 สมรรถนะ (ยกเว้นกลุ่มงานนักบริหาร ระดับสูง มี 5 สมรรถนะ) สมรรถนะประจำกลุ่มงาน มี 20 สมรรถนะ” การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) การมองภาพองค์รวม ( Conceptual Thinking) การพัฒนาศักยภาพคน (Caring & Developing Others) การสั่งการตามอำนาจหน้าที่ (Holding People Accountable) การสืบเสาะหาข้อมูล (Information Seeking) ความเข้าใจข้อแตกต่างทางวัฒนธรรม (Cultural Sensitivity) ความเข้าใจผู้อื่น ( Interpersonal Understanding) ความเข้าใจองค์กรและระบบราชการ(Organizational Awareness)

60 สมรรถนะประจำกลุ่มงาน (ต่อ)
การดำเนินการเชิงรุก (Proactiveness) ความถูกต้องของงาน (Concern for Order) ความมั่นใจในตนเอง (Self Confidence) ความยืดหยุ่นผ่อนปรน (Flexibility) ศิลปะการสื่อสารจูงใจ (Communication & Influencing) สภาวะผู้นำ (Leadership) สุนทรียภาพทางศิลปะ (Aesthetic Quality) วิสัยทัศน์ (Visioning) การวางกลยุทธ์ภาครัฐ (Strategic Orientation) ศักยภาพเพื่อนำการปรับเปลี่ยน (Change Leadership) การควบคุมตนเอง (Self Control) การให้อำนาจแก่ผู้อื่น (Empowering Others)

61 การแบ่งประเภทสมรรถนะ
สมรรถนะหลัก – มี 5 สมรรถนะ (การมุ่งผลสัมฤทธิ์, บริการที่ดี, การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ, การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม, การทำงานเป็นทีม) สมรรถนะทางการบริหาร – มี 6สมรรถนะ (สภาวะผู้นำ, วิสัยทัศน์, การวางกลยุทธ์ภาครัฐ, ศักยภาพเพื่อนำการปรับเปลี่ยน, การควบคุมตนเอง, การสอนงานและมอบหมายงาน) สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ – กำหนดอย่างน้อย 3 สมรรถนะ

62 ให้ส่วนราชการดำเนินการ ดังนี้
กำหนดรายละเอียด และระดับของความรู้ความสามารถ กำหนดรายละเอียด และระดับของทักษะ (อาจกำหนดเพิ่มเติมได้) กำหนดรายละเอียด และระดับของสมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติอย่างน้อย 3 สมรรถนะ กำหนดระดับความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะให้สูงขึ้นได้ เสนอรายละเอียดดังกล่าว ให้ อ.ก.พ. กระทรวงพิจารณาแล้วรายงานให้ ก.พ. ทราบ สมรรถนะหลักให้ดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานให้ดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 2 ปี

63 มาตรฐานกำหนดตำแหน่งกับการบรรจุแต่งตั้ง
ลักษณะ 4 ข้าราชการพลเรือนสามัญ หมวด 3  การสรรหา การบรรจุ และการแต่งตั้ง มาตรา 54 วรรคแรก ผู้สมัครสอบแข่งขันในตำแหน่งใด ต้องมีคุณสมบัติทั่วไปและไม่มีลักษณะต้องห้าม หรือได้รับการยกเว้นในกรณีที่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 36 และต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งหรือได้รับอนุมัติจาก ก.พ. ตามมาตรา 62 ด้วย 

64 มาตรฐานกำหนดตำแหน่งกับการบรรจุแต่งตั้ง
ลักษณะ 4 ข้าราชการพลเรือนสามัญ หมวด 4  การสรรหา การบรรจุ และการแต่งตั้ง มาตรา 62  ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญตำแหน่งใดต้องมีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งนั้นตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง  ในกรณีที่มีเหตุผลและความจำเป็น ก.พ. อาจอนุมัติให้แต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญที่มีคุณสมบัติต่างไปจากคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งก็ได้  ในกรณีที่ ก.พ. กำหนดให้ปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิใดเป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ให้หมายถึงปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิที่ ก.พ. รับรอง

65 มาตรฐานกำหนดตำแหน่งกับการบรรจุแต่งตั้ง
ลักษณะ 4 ข้าราชการพลเรือนสามัญ หมวด 3  การสรรหา การบรรจุ และการแต่งตั้ง มาตรา66  วรรคแรก ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ตาม มาตรา 62 แล้ว หากภายหลังปรากฏว่าเป็นผู้มีคุณสมบัติไม่ตรงตามคุณสมบัติเฉพาะ สำหรับตำแหน่งนั้น ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 แต่งตั้งผู้นั้นให้กลับไปดำรงตำแหน่งตามเดิมหรือตำแหน่งอื่นในประเภทเดียวกันและระดับเดียวกันโดยพลัน แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนถึงการใดที่ผู้นั้นได้ปฏิบัติไปตามอำนาจและหน้าที่ และการรับเงินเดือน หรือผลประโยชน์อื่นใดที่ได้รับหรือมีสิทธิจะได้รับอยู่ก่อนได้รับคำสั่งให้กลับไปดำรงตำแหน่งตามเดิมหรือตำแหน่งอื่นในประเภทเดียวกันและระดับเดียวกัน 

66 มาตรฐานกำหนดตำแหน่งกับการบรรจุแต่งตั้ง
ลักษณะ 4 ข้าราชการพลเรือนสามัญ หมวด 3  การสรรหา การบรรจุ และการแต่งตั้ง  มาตรา 67  ผู้ได้รับบรรจุเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งใดตามมาตรา 53 วรรคหนึ่ง มาตรา 55 มาตรา 56 มาตรา 63 มาตรา 64 และมาตรา 65 หากภายหลังปรากฏว่าขาดคุณสมบัติทั่วไปหรือมีลักษณะต้องห้ามโดยไม่ได้รับการยกเว้นตามมาตรา 36หรือขาดคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งนั้นโดยไม่ได้รับอนุมัติ จาก ก.พ. ตามมาตรา62 อยู่ก่อนก็ดี มีกรณีต้องหาอยู่ก่อนและภายหลังเป็นผู้ขาดคุณสมบัติเนื่องจากกรณีต้องหานั้นก็ดี ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 สั่งให้ผู้นั้น ออกจากราชการโดยพลัน แต่ทั้งนี้ไม่กระทบกระเทือนถึงการใดที่ผู้นั้นได้ปฏิบัติไปตามอำนาจและหน้าที่ และการรับเงินเดือนหรือผลประโยชน์อื่นใดที่ได้รับหรือมีสิทธิจะได้รับจากทางราชการก่อนมีคำสั่งให้ออกนั้น และถ้าการเข้ารับราชการเป็นไปโดยสุจริตแล้วให้ถือว่าเป็นการสั่งให้ออกเพื่อรับบำเหน็จบำนาญเหตุทดแทนตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการ

67 สำนักงาน ก.พ. สำนักพัฒนาระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทน
กลุ่มงานพิจารณารับรองคุณวุฒิ สำนักตรวจสอบและประเมินผลกำลังคน


ดาวน์โหลด ppt มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง กับการบรรจุแต่งตั้ง.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google