อสม.ดีเด่น สาขาทันตสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
เป้าหมาย ร้อยละ 98 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเฉพาะ ข้อที่ 25 ร้อยละความสำเร็จของข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด.
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
สำนักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวงเกี่ยวกับ.
งานส่งเสริมทันตสุขภาพ
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น “ขับเคลื่อนอย่างไรให้ยั่งยืน”
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สถานการณ์สภาวะสุขภาพช่องปาก จังหวัดกำแพงเพชร
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
กลไกการขับเคลื่อนและแผนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และการใช้ค่ากลาง
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
สถานการณ์สุขภาพช่องปาก ปี 2560
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การติดตาม (Monitoring)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อสม.ดีเด่น สาขาทันตสุขภาพ วาสนา พันพลูวงษ์ อสม.ดีเด่น สาขาทันตสุขภาพ  

แรงจูงใจในการดำเนินงาน แรงจูงใจในการดำเนินงานด้านทันตสุขภาพ เริ่มต้นหลังจากที่ บุตรสาวของข้าพเจ้าจบการศึกษาทันตสาธารณสุข ช่วงนั้นข้าพเจ้า ได้มีส่วนช่วยงานลูกสาวในการทำงานด้านทันสุขภาพในชุมชน บ่อยๆ ทำให้ได้ทราบถึงปัญหาสุขภาพช่องปากของประชาชน ต่อมาในปี 2558 ได้มีโอกาสในการอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขในการ ดำเนินงานทันตสุขภาพชุมชน และได้ดำเนินการสำรวจสุขภาพช่องปากของประชาชนร่วมกับเจ้าหน้าที่ สาธารณสุข เพื่อนทีมอาสาสมัครสาธารณสุข ซึ่งพบว่าประชาชนในพื้นที่ตำบลซับมะกรูดส่วนใหญ่มี ปัญหาด้านสุขภาพช่องปาก ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน จึงทำให้ข้าพเจ้าหันมามองถึงปัญหา สุขภาพช่องสุขภาพช่องปากมากขึ้น จึงได้พูดคุยปรึกษากับเพื่อนอาสาสมัครสาธารณสุข และเจ้าหน้าที่ สาธารณสุข นำเสนอปัญหาดังกล่าวเข้าสู่แผนพัฒนาสุขภาพชุมชน โดยมี 2 แผนงาน 2 กิจกรรม หลัก คือ แผนงานในกลุ่มเด็ก 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ และการส่งเสริมโภชนาการป้องกันฟันผุในโรงเรียน ใน 2 กิจกรรมหลัก คือ การตรวจฟันในเด็ก 0-12 ปี และการให้คำแนะนำในการลดอาหารหวาน ขนมขบเคี้ยว น้ำหวานในโรงเรียน แต่การดำเนินงานไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร ยังพบฟันผุใน กลุ่มเด็กสูงอยู่

แรงจูงใจในการดำเนินงาน ต่อมาในปี 2559 มีการดำเนินงานสำรวจสุขภาพช่องปากในพื้นที่ต่อเนื่อง ยังพบปัญหา สุขภาพช่องปากในเรื่องฟันผุ หินน้ำลาย และเหงือกอักเสบสูงอยู่ จึงปรึกษากับเพื่อนอาสาสมัคร สาธารณสุข และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยมีการคืนข้อมูลให้กับชุมชน และได้ นำเสนอแผนพัฒนาสุขภาพด้านทันสุขภาพเพิ่มเติมเป็น 4 แผนงาน 8 กิจกรรมหลัก คือ เด็ก 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ การส่งเสริมป้องกันฟันผุในโรงเรียน พัฒนาทักษะการดูแลช่องปากในวัยทำงาน ผู้สูงอายุ ฟันดี ใน 4 กิจกรรมหลัก คือ การตรวจฟันในเด็ก 0-12 ปี ผู้สูงอายุ วัยทำงาน ให้คำแนะนำทักษะ การแปรงฟัน มาตรการการลดอาหารหวาน ขนมขบเคี้ยว น้ำหวานในโรงเรียน ชุมชน และในปี 2560 ได้มีการถอดบทเรียนในการดำเนินงานด้านทันตสุขภาพกับชุมชน และภาคีเครือข่าย ทำให้เกิดเป็นกลยุทธ์ 4 แผนงาน 11 กิจกรรมหลัก โดยมีการดำเนินงานดูแล สุขภาพช่องปากตามกลุ่มวัย และเพื่อให้กลยุทธ์ในการขับเคลื่อนงานทันสุขภาพเข้าใจได้ง่าย และ น่าสนใจมากขึ้น จึงได้ปรับเป็น “กลยุทธ์ 11 ดี 4 ฟันเฟือง (11 D 4 Drive)”

กลยุทธ์การดำเนินงานทันตสุขภาพ 11 ดี 4 ฟันเฟือง  

กลยุทธ์การดำเนินงานทันตสุขภาพ 11 ดี 4 ฟันเฟือง D6 โรงเรียน ดี D5 นโยบาย ดี D7 สิ่งแวดล้อม ดี

D8 บริการดี D9 พี่เลี้ยงดี D10 ส่งต่อดี D11 นวัฒกรรม ดี

ผลสำเร็จในการดำเนินงาน ร้อยละผู้รับบริการตรวจสุขภาพช่องปากที่พบฟันผุ  

ผลสำเร็จในการดำเนินงาน ร้อยละผู้รับบริการตรวจสุขภาพช่องปากที่พบเหงือกอักเสบ  

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค อาหาร/เครื่องดื่ม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค อาหาร/เครื่องดื่ม  

ติดตามผลพฤติกรรมการดู สุขภาพช่องปาก