สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 101 หนี้สงสัยจะสูญ และหนี้สูญ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
ตราด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นางสาวอุสิมา สิงห์โตทอง
บทนำ บริษัทในเครือมักจะมีธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกัน
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
บทที่ 6 งบประมาณ.
สมุทรปราการ นายวิญญู หมั่นการ นายนิพนธ์ เนยเมืองปัก
1. 2 งบประมาณ ทั้งสิ้น 33, ลบ. งบประจำ ลบ. (0.37%) งบ บุคลากร ลบ. (0.25%) งบ ดำเนินงา น ลบ. (0.12%) งบลงทุน 33,
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
ระยอง นายสมชัย ฉายศรีศิริ นายปรพล เจริญพงษ์ นายสมหมาย เอี่ยมมงคลสกุล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
เดือนต.ค.พ.ย.ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย. เป้าหมายรัฐ (ทุกงบ) % เป้าหมาย (งบลงทุน) %
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
BUNCHEE TIPS BY AOODY FOR MM MEETING ON FEBUARY 17, 2014.
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
1.
15 กันยายน 2558 หมวดงบลงทุน. งบ ลงทุน 1) ครุภัณฑ์ 2) ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่าย เพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายใน ลักษณะค่าครุภัณฑ์
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
คำแนะนำ นายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ. ศ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
12/02/ รายงานเปรียบเทียบ งบรายได้ - ค่าใช้จ่าย ประจำปี 2556 งบรายได้ - ค่าใช้จ่าย และปี รายงานเปรียบเทียบ งบรายได้ - ค่าใช้จ่าย เดือนมกราคม.
KM การเบิกจ่ายโครงการ กลุ่ม 3 1. นายณัฐกร ตุ้ยทา 2. นางสาวอภิวันท์ สิ้มศรีสุข 3. นางสาวศิริกาญจน์ กิตติชยานนท์
สัญญาก่อสร้าง.
กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น
แนวปฏิบัติทางบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
อ.พิมพ์ผกา วงศ์กองแก้ว
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
Accounting Principles
Accounting Principles I
ระบบบัญชีต้นทุนและการจัดทำงบ
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
งบการเงินตามแนวคิดการบริหารและต้นทุนจริง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
กองทุนเงินทดแทน ประกันสังคม.
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
คำแนะนำ ฯ แบ่งออกเป็น 5 ส่วน
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ขอบเขต ถือปฏิบัติกับการรับรู้รายการ การวัดมูลค่า และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ครอบคลุมถึง การวัดมูลค่าของผลประโยชน์ของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนที่ถือไว้
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 2 งบการเงิน ความหมายของงบการเงิน
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การบัญชีสำหรับ กิจการขายผ่อนชำระ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 11 สัญญาก่อสร้าง (IAS No.11 Construction Contracts (Bound volume 2009) TAS ฉบับที่ 11 เริ่มบังคับใช้ 1 มกราคม 2554 ปรับปรุง 2552 (แทนฉบับที่ 11 ปี 2550 เดิม) สาระสำคัญไม่แตกต่างจากฉบับเดิม เพียงแต่แก้ไขถ้อยคำให้สอดคล้องกับฉบับอื่น ๆ สำหรับกิจการรับงานก่อสร้าง

สัญญาก่อสร้าง กิจการรับงานก่อสร้าง เริ่มต้นก่อสร้าง ก่อสร้างเสร็จ ต่างงวดบัญชี แบ่งรายได้และต้นทุนตามรอบระยะเวลารายงาน

สัญญาก่อสร้าง สัญญาที่ทำขึ้นโดยเฉพาะเพื่อก่อสร้างสินทรัพย์ รายการเดียว หลายรายการ เช่น ด้านการออกแบบ เทคโนโลยีและหน้าที่ วัตถุประสงค์ในการใช้ สัญญาการให้บริการที่เกี่ยวข้องโดยตรง

ลักษณะของสัญญาก่อสร้าง สัญญาคงที่ กำหนดราคา กำหนดอัตราคงที่ต่อหน่วยผลผลิต การเปลี่ยนแปลงต้นทุน สัญญาต้นทุนบวกส่วนเพิ่ม รับคืนต้นทุนบวก อัตราร้อยละของต้นทุน จำนวนคงที่ ผสมกัน สัญญาต้นทุนบวกเพิ่มแต่มีเพดาน

รายได้ค่าก่อสร้าง จำนวนตามสัญญา จำนวนที่เปลี่ยนแปลงจากสัญญา การดัดแปลงงาน มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่ผู้ว่าจ้างจะอนุมัติ ค่าชดเชย มีการเจรจาถึงขั้นตกลงที่ผู้ว่าจ้างจะรับผิดชอบต่อการเรียกร้อง เงินจูงใจ มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่ผลงานจะเป็นไปตามที่กำหนด ทั้งนี้จะต้องวัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ

ต้นทุนการก่อสร้าง รวมต้นทุนที่ เกี่ยวข้องโดยตรงกับงานก่อสร้าง เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างโดยทั่วไป ซึ่งสามารถปันส่วนได้ เช่น ค่าประกันภัย ค่าโสหุ้ย เป็นระบบ และ สม่ำเสมอ สามารถเรียกเก็บจากผู้ว่าจ้างได้ตามสัญญา ตั้งใจแน่ว่าจะได้รับงานจนก่อสร้างเสร็จ

งานก่อสร้างระยะยาว สัญญาก่อสร้างระยาว เช่น อาคาร บ้าน สะพาน ถนน เขื่อน ต้นทุนงานก่อสร้าง ประกอบด้วย 1. ต้นทุนโดยตรงงานก่อสร้าง วัสดุใช้ในการก่อสร้าง + ค่าแรงงาน + ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง 2. ต้นทุนที่เกี่ยวข้องงานก่อสร้างโดยทั่วไป และได้รับการปันส่วน เช่น ค่าเบี้ยประกันภัย ค่าใช้จ่ายอื่นที่เกิดขึ้นรวม 3. ต้นทุนอื่นที่อาจเรียกเก็บจากผู้จ้างได้ตามสัญญาก่อสร้าง เช่น ต้นทุนการบริหาร

ต้นทุนการก่อสร้าง ต้นทุนที่เกี่ยวข้องโดยตรง ได้แก่ ค่าแรงงานและค่าควบคุมงาน ค่าวัสดุ ค่าเสื่อมราคา ต้นทุนในการย้ายเครื่องจักรและวัสดุ ค่าเช่า ค่าออกแบบและการให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิค ประมาณการต้นทุนในการแก้ไขและประกันผลงาน ค่าชดเชยที่บุคคลที่สามเรียกร้อง หัก รายได้จากการขายซาก

ต้นทุนการก่อสร้าง ไม่รวม ต้นทุนการบริหารทั่วไป ต้นทุนในการขาย ต้นทุนในการวิจัยและพัฒนา ค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์ที่ไม่ได้ใช้งาน

การรับรู้รายได้ค่าก่อสร้าง -ประมาณผลงานได้อย่างน่าเชื่อถือ สัญญาราคาคงที่ วัดมูลค่ารายได้ค่าก่อสร้างได้ จะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ วัดมูลค่าต้นทุนที่จะต้องจ่ายจนงานแล้วเสร็จได้ ประมาณขั้นความสำเร็จของงานก่อสร้างได้ ระบุและวัดมูลค่าต้นทุนได้ เปรียบเทียบกับประมาณการ

การรับรู้รายได้ค่าก่อสร้าง -ประมาณผลงานได้อย่างน่าเชื่อถือ สัญญาต้นทุนบวกส่วนเพิ่ม จะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ ระบุและวัดมูลค่าต้นทุนได้

การรับรู้รายได้ค่าก่อสร้าง -ประมาณผลงานได้อย่างน่าเชื่อถือ อ้างอิงขั้นความสำเร็จของงาน (Percentage of Completion) รับรู้ผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นเป็นค่าใช้จ่ายทันที

การกำหนดขั้นความสำเร็จของงาน อัตราส่วนของต้นทุนการก่อสร้างที่เกิดขึ้นกับประมาณการต้นทุนทั้งหมด การสำรวจเนื้องานที่ทำแล้ว การสำรวจทางกายภาพ **ค่างวดงานและเงินรับล่วงหน้าไม่สะท้อนเนื้องานที่ทำเสร็จ

วิธีอัตราส่วนของงานที่ทำเสร็จ การวัดขั้นความสำเร็จของงานก่อสร้าง 1. วัดจากสิ่งที่ป้อนเข้า Input Measures -นิยมใช้ เช่น ต้นทุนที่เกิดขึ้น ชั่วโมงแรงงานที่ใช้ไป 2. วัดจากผลที่ได้รับ Output Measures เช่น จำนวนขั้นของอาคารที่เสร็จ จำนวนกิโลเมตรของถนนที่เสร็จ สูตรการคำนวณขั้นความสำเร็จ-จาก Input อัตราร้อยละของงานที่ทำเสร็จ = ต้นทุนงานก่อสร้างที่เกิดขึ้นจนถึงวันสิ้นปีปัจจุบัน ประมาณต้นทุนงานก่อสร้างที่คาดว่าจะเกิดทั้งสิ้น x100

โจทย์ตัวอย่างที่ 1 : งานก่อสร้างระยะยาว ราคาก่อสร้างตามสัญญา 1,200 ล้านบาท ต้นทุนประมาณการคาดว่าจะเกิดขึ้นทั้งสิ้น 900 ล้านบาท รายการ ปี 25x4 ปี 25x5 ปี 25x6 ราคาตามสัญญา 1,200 ต้นทุนที่เกิดขึ้นจนถึงปัจจุบัน 300 700 1,000 ต้นทุนที่คาดว่าจะเกิดอีกจนงานเสร็จ 600 -0- ประมาณการต้นทุนก่อสร้างทั้งสิ้น 900

โจทย์ตัวอย่างที่ 1 : งานก่อสร้างระยะยาว การคำนวณขั้นความสำเร็จ วัดจากต้นทุน อัตราร้อยละของงานที่ทำเสร็จ = ต้นทุนงานก่อสร้างที่เกิดขึ้นจนถึงวันสิ้นปีปัจจุบัน ประมาณต้นทุนงานก่อสร้างที่คาดว่าจะเกิดทั้งสิ้น X 100 อัตราร้อยละของงานที่ทำเสร็จ = 300 ปี 25x4 900 =33.33% X 100 อัตราร้อยละของงานที่ทำเสร็จ = 700 ปี 25x5 1,000 =70% X 100 อัตราร้อยละของงานที่ทำเสร็จ = 1,000 ปี 25x6 1,000 =100% X 100

โจทย์ตัวอย่างที่ 1 : งานก่อสร้างระยะยาว รายการ จำนวนสะสมจนถึงปัจจุบัน ปี 25x4 จำนวนที่รับรู้ในปีก่อน (ปี 25x5) จำนวนที่รับรู้ในปีปัจจุบัน (ปี 25x6) รายได้ 1,200 x 33.33% หัก ค่าใช้จ่าย กำไรขั้นต้น 400 300 100

โจทย์ตัวอย่างที่ 1 : งานก่อสร้างระยะยาว รายการ จำนวนสะสมจนถึงปัจจุบัน ปี 25x4 จำนวนที่รับรู้ในปีก่อน (ปีที่ 25x5) จำนวนที่รับรู้ในปีปัจจุบัน (ปีที่ 25x6) ปี 25x5 รายได้ 1,200x70% =840 หัก ค่าใช้จ่าย =700 กำไรขั้นต้น 140 400 300 100 440 40

โจทย์ตัวอย่างที่ 1 : งานก่อสร้างระยะยาว รายการ จำนวนสะสมจนถึงปัจจุบัน ปี 25x4 จำนวนที่รับรู้ในปีก่อน (ปีที่ 25x5) จำนวนที่รับรู้ในปีปัจจุบัน (ปีที่ 25x6) ปี 25x6 รายได้1,200x100% =1,200 หัก ค่าใช้จ่าย =1,000 กำไรขั้นต้น 200 400 300 100 440 40 360 60

โจทย์ตัวอย่างที่ 2 : งานก่อสร้างระยะยาว ราคาก่อสร้างตามสัญญา 10,000,000 บาท ต้นทุนประมาณการคาดว่าจะเกิดขึ้นทั้งสิ้น 6,000,000 บาท รายการ ปี 25x4 ปี 25x5 ปี 25x6 ต้นทุนที่เกิดขึ้นจนถึงปัจจุบัน 2,000,000 5,000,000 7,000,000 ต้นทุนที่คาดว่าจะเกิดอีกจนงานเสร็จ 4,000,000 1,500,000 -0- ค่าก่อสร้างออกบิลเรียกเก็บเงินแล้วสะสม 3,000,000 6,000,000 10,000,000 เงินสดที่รับแล้วสะสม 9,000,000

การคำนวณหาขั้นความสำเร็จในแต่ละปี อัตราร้อยละของงานที่ทำเสร็จ= ต้นทุนงานก่อสร้างที่เกิดขั้นจนถึงวันสิ้นปีปัจจุบัน ประมาณต้นทุนงานก่อสร้างที่คาดว่าจะเกิดทั้งสิ้น รายการ ปี 25x4 ปี 25x5 ปี 25x6 การคำนวณ 2,000,000 6,000,000 5,000,000 6,500,000 7,000,000 อัตราส่วนของงานที่สำเร็จ 33.33% 76.93% 100% x100 X 100 X 100 X 100

การรับรู้รายได้จากงานก่อสร้างในแต่ละปี รายการ ปี25x4 ปี 25x5 ปี 25x6 ปี 25x4 10,000,000 x 33.33% 3,333,000 ปี 25x5 76.93% 7,693,000 หัก รายได้ปี 25x4 รายได้ปี 25x5 4,360,000 ปี 25x6 100% 10,000,000 หัก รายได้ปี 25x5+25x4 รายได้ปี 25x6 2,307,000

การรับรู้กำไรขั้นต้นจากงานก่อสร้างในแต่ละปี รายการ ปี25x4 ปี 25x5 ปี 25x6 ปี 25x4 33.34% 1,333,600 (4,000,000x33.34%) ปี 25x5 3,500,000x76.93% 2,692,550 หัก กำไรขั้นต้นปี 25x4 กำไรขั้นต้น ปี 25x5 1,358,950 3,000,000 หักกำไรขั้นต้นปี25x5+25x4 กำไรขั้นต้นปี 25x6 307,450

การบันทึกบัญชี รายการ ปี25x4 ปี 25x5 ปี 25x6 บันทึกต้นทุนงานก่อสร้าง Dr. งานระหว่างก่อสร้าง 2,000,000 3,000,000 Cr. วัตถุดิบ ค่าแรง ค่าใช้จ่าย บันทึกการส่งบิลเรียกเก็บ Dr.ลูกหนี้ตามสัญญาก่อสร้าง 4,000,000 Cr.งานระหว่างก่อสร้างที่เรียกเก็บ บันทึกการรับเงินจากผู้ว่าจ้าง Dr. เงินสด Cr. ลูกหนี้ตามสัญญาก่อสร้าง

การบันทึกบัญชี รายการ ปี25x4 ปี 25x5 ปี 25x6 บันทึกรายได้และกำไรขั้นต้น Dr. งานระหว่างก่อสร้าง (กำไร) 1,333,000 1.360,000 307,000 ต้นทุนงานก่อสร้าง 2,000,000 3,000,000 Cr. รายได้จากงานก่อสร้าง 3,333,000 4,3600,000 2,307,000 บันทึกงานก่อสร้างที่ทำเสร็จ Dr.งานระหว่างก่อสร้างที่เรียกเก็บ - 10,000,000 Cr.งานระหว่างก่อสร้าง

การแสดงรายการในงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ปี 25x4 ปี 25x5 ปี 25x6 รายได้จากงานก่อสร้าง 3,333,000 4,360,000 2,307,000 หัก ต้นทุนงานก่อสร้าง 2,000,000 3,000,000 กำไรขั้นต้น 1,333,000 1,360,000 307,000

การแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงิน ปี25x4 ปี 25x5 ปี 25x6 สินทรัพย์หมุนเวียน.- ลูกหนี้งานก่อสร้าง 1,000,000 สินค้าคงเหลือ.- งานระหว่างก่อสร้าง หัก งานระหว่างก่อสร้างที่เรียกเก็บ 3,333,000 3,000,000 7,693,000 6,000,000 ต้นทุนและกำไรขั้นต้นที่เกินบิลเรียกเก็บ 333,000 1,693,000 หนี้สินหมุนเวียน.- งานระหว่างก่อสร้างที่เรียกเก็บ - หัก งานระหว่างก่อสร้าง

การเปิดเผยข้อมูล จำนวนรายได้ที่รับรู้เป็นรายได้ วิธีที่ใช้ในการกำหนดรายได้ วิธีที่ที่ใช้ในการกำหนดขั้นความสำเร็จของงาน จำนวนรวมของต้นทุนที่เกิดขึ้นและกำไรที่รับรู้จนถึงปัจจุบัน จำนวนเงินรับล่วงหน้า จำนวนเงินประกันผลงาน จำนวนเงินทั้งสิ้นที่กิจการมีสิทธิเรียกร้องจากผู้จ้าง จำนวนเงินทั้งสิ้นที่ผู้จ้างมีสิทธิเรียกร้องจากกิจการ