งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Accounting Principles

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Accounting Principles"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Accounting Principles
Asst.Prof. Dr. Panchat Akarak School of Accounting Chiang Rai Rajabhat University

2 Adjusting the Accounts
-Accrual Basis -Errors Recorded -Financial information Quality

3 การปรับปรุงรายการบัญชี
การปรับปรุงรายการจะกระทำเพื่อคำนวณหากำไรหรือขาดทุนสุทธิ ของกิจการตามเกณฑ์คงค้าง(Accrual Basis)

4 เกณฑ์คงค้าง (Accrual Basis)
หมายถึง การรับรู้รายการที่เกิดขึ้นแล้วตามงวดเวลา โดยไม่คำนึงถึงการรับ-จ่ายเงินของกิจการ

5 Classes and Types of adjusting entries
1. Unearned Revenues 2. Accrued Revenue 3. Prepaid Expense /Asset 4. Accrued Expense/ Liability 5. Supplies on hand 6. Depreciation-asset 7. Allowance for doubtful Accounts 8. Errors

6 รายการปรับปรุงบัญชี ประกอบด้วย 7 รายการ
รายได้รับล่วงหน้า (Unearning Revenues) รายได้ค้างรับ (Accrued Revenue) ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า (Prepaid expense) ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย (Accrued expense) วัสดุสิ้นเปลืองคงเหลือ-ใช้ไป (Supplies on hand) ค่าเสื่อมราคา-สินทรัพย์ถาวร (Depreciation) ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ-ลูกหนี้การค้า (Allowanced) การแก้ไขข้อผิดพลาด (Errors)

7 Effects of Failing to Prepare Adjusting Entries
Failure to recognize Effect on net income balance sheet 1. Consumption of the benefits of an asset (prepaid expense) Overstates Overstates assets Overstates Owner’s capital 2. Earning of previously unearned revenues Understates Overstates Liabilities Understates owner’s capital

8 Effects of Failing to Prepare Adjusting Entries
Failure to recognize Effect on net income balance sheet 3. Accrual of assets Understates Understates assets Understates owner’s capital 4. Accrual of liabilities Overstates Understates Liabilities Overstates owner’s capital

9 Classes and Types of adjusting entries
1. Unearned Revenues 2. Accrued Assets / Revenue 3. Prepaid such as Insurance, Rent, 4. Accrued Liability / Expense 5. Supplies on hand 6. Depreciation-asset 7. Allowance for doubtful Accounts 8. Errors

10 1. รายได้รับล่วงหน้า (Unearning Revenues)
หมายถึง รายได้ที่กิจการได้รับล่วงหน้าจากลูกค้า โดยที่กิจการยังไม่ได้ให้บริการแก่ลูกค้า หรือยังไม่ได้ให้ลูกค้าใช้ทรัพยากรของกิจการ

11 1. รายได้รับล่วงหน้า (Unearning Revenues)
ตัวอย่าง บัญชีรายได้รับล่วงหน้า รายได้ค่าบริการรับล่วงหน้า (Deferred revenues) รายได้ค่าเช่ารับล่วงหน้า (Deferred rent) ดอกเบี้ยรับล่วงหน้า (Deferred Interest) รายได้ค่าเบี้ยประกันภัยรับล่วงหน้า (Deferred insurance revenue)

12 1. รายได้รับล่วงหน้า (Unearning Revenues)
มีวิธีการบันทึกบัญชี 2 วิธี คือ เมื่อรับเงินรายได้ บันทึกไว้เป็นหนี้สิน(Liabilities) (รายได้.....รับล่วงหน้า) 2) เมื่อรับเงินรายได้ บันทึกไว้เป็นรายได้ (Revenue)

13 กรณี เมื่อเกิดรายได้ กิจการบันทึกไว้เป็นหนี้สิน
เมื่อรับเงินรายได้ Dr. เงินสด xx Cr. รายได้รับล่วงหน้า(หนี้สิน) xx วันสิ้นงวดจะต้องปรับปรุงบัญชี Dr. รายได้รับล่วงหน้า(หนี้สิน) xx Cr. รายได้....ฯ xx

14 กรณี เมื่อเกิดรายได้ล่วงหน้า กิจการบันทึกไว้เป็นหนี้สิน
โจทย์ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 25x9 รับรายได้ค่าเช่าอาคาร 10,000 บาท สำหรบระยะเวลา 5 เดือน กิจการปิดบัญชี 31 ธันวาคม ทุกปี เมื่อรับรายได้ 1 ต.ค. Dr. เงินสด ,000 Cr. รายได้ค่าเช่าอาคารรับล่วงหน้า(หนี้สิน) 10,000 รับรายได้ค่าเช่าสำหรับระยะเวลา 5 เดือน วันสิ้นงวดจะต้องปรบปรุงบัญชี 31 ธ.ค. Dr. รายได้รับล่วงหน้า(หนี้สิน) ,000 Cr. รายได้ค่าเช่าอาคาร ,000 ปรับปรุงรายได้ค่าเช่ารับ 3 เดือน (ต.ค.-ธ.ค.)

15 กรณี เมื่อเกิดรายได้ กิจการบันทึกไว้เป็นรายได้
เมื่อรับเงินรายได้ Dr. เงินสด xx Cr. รายได้ฯ (รายได้) xx วันสิ้นงวดจะต้องปรับปรุงบัญชี Dr. รายได้ฯ (รายได้) xx Cr. รายได้รับล่วงหน้า (หนี้สิน) xx

16 กรณี เมื่อเกิดรายได้ กิจการบันทึกไว้เป็นรายได้
กรณี เมื่อเกิดรายได้ กิจการบันทึกไว้เป็นรายได้ โจทย์ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 25x9 รับรายได้ค่าเช่าอาคาร 10,000 บาท สำหรบระยะเวลา 5 เดือน กิจการปิดบัญชี 31 ธันวาคม ทุกปี เมื่อรับรายได้ 1 ต.ค. Dr. เงินสด ,000 Cr. รายได้ค่าเช่าอาคาร(รายได้) ,000 รับรายได้ค่าเช่าสำหรับระยะเวลา 5 เดือน วันสิ้นงวดจะต้องปรบปรุงบัญชี 31 ธ.ค. Dr. รายได้ค่าเช่าอาคาร(รายได้) 4,000 Cr. รายได้ค่าเช่าอาคารรับล่วงหน้า (หนี้สิน) 4,000 ปรับปรุงรายได้ค่าเช่ารับล่วงหน้า 2 เดือน (ม.ค.-ก.พ.)

17 2. รายได้ค้างรับ (Accrued Revenue)
หมายถึง กิจกรรมที่กิจการให้บริการเสร็จสิ้นแล้วภายในงวดบัญชีปัจจุบัน แต่กิจการไม่ได้รับเงินจากผู้รับบริการ(ลูกค้า)นั้น

18 2. รายได้ค้างรับ (Accrued Revenue)
ตัวอย่าง บัญชีรายได้ค้างรับ รายได้ค่าเช่าค้างรับ (Accrued rent Revenue) ดอกเบี้ยค้างรับ (Accrued interest Revenue) รายได้ค่าโฆษณาค้างรับ (Accrued Advertising Revenue) เงินปันผลค้างรับ (Accrued Dividend Revenue)

19 2. รายได้ค้างรับ (Accrued Revenue) 2.รายได้ค้างรับ
ในวันสิ้นงวดจะต้องปรับปรุงบัญชี Dr. รายได้ค้างรับ (สินทรัพย์) xx Cr. รายได้….. (รายได้) xx

20 บันทึกปรับปรุงบัญชี รายได้ค้างรับ
โจทย์ตัวอย่าง ให้บริการเช่าพื้นที่หน้าร้านขายสินค้าเดือนละ 3,000 บาท ทำสัญญาตั้งแต่เดือนกันยายน 25x9 ตั้งแต่เดือนกันยายนเป็นต้นมา ผู้เช่ายังไม่จ่ายเงินจนถึงวันนี้ (31 ธันวาคม) ในวันสิ้นงวดจะต้องปรับปรุงบัญชีรายได้ค้างรับ Dr. รายได้ค่าเช่าค้างรับ (สินทรัพย์)12,000 Cr. รายได้ค่าเช่า (รายได้) ,000 ปรับปรุงรายได้ค่าเช่าค้างรับ 4 เดือน

21 3. ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า (Prepaid Expense)
หมายถึง ค่าสิ่งของหรือบริการที่กิจการจ่ายเงินแล้วแต่ยังไม่ได้รับบริการหรือสิ่งของนั้นในรอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบัน

22 3. ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า 3. ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า (Prepaid Expense)
ตัวอย่าง บัญชีค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า ค่าเบี้ยประกันภัยจ่ายล่วงหน้า ดอกเบี้ยจ่ายล่วงหน้า ค่าโฆษณาจ่ายล่วงหน้า

23 3. ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า 3. ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า (Prepaid Expense)
วิธีการบันทึกบัญชีค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า สามารถบันทึกได้ 2 วิธี 1) วันจ่ายเงินลงบัญชีไว้เป็นสินทรัพย์ (Assets) (ค่าใช้จ่าย......จ่ายล่วงหน้า) 2) วันจ่ายเงินลงบัญชีไว้เป็นค่าใช้จ่าย (Expense)

24 กรณี วันจ่ายเงินลงบัญชีไว้เป็นสินทรัพย์ (Asset)
วันจ่ายเงินค่าใช้จ่าย Dr. ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า(สินทรัพย์) xx Cr. เงินสด xx วันสิ้นงวดจะต้องปรับปรุงบัญชี Dr. ค่าใช้จ่าย.....ฯ xx Cr. ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า(สินทรัพย์) xx

25 กรณี วันจ่ายเงินลงบัญชีไว้เป็นสินทรัพย์ (Asset)
โจทย์ จ่ายค่าเบี้ยประกันภัย จำนวน 12,000 บาท สำหรับระยะเวลา 1 ปี สัญญาเริ่ม 1 ต.ค. 25x9 กิจการปิดบัญชี 31 ธันวาคม วันจ่ายค่าใช้จ่าย 1 ต.ค. Dr. ค่าเบี้ยประกันภัยจ่ายล่วงหน้า 12,000 Cr. เงินสด ,000 วันสิ้นงวดจะต้องปรับปรุงบัญชี 31 ธันวาคม Dr. ค่าเบี้ยประกันภัยจ่าย ,000 Cr. ค่าเบี้ยประกันภัยจ่ายล่วงหน้า ,000 ปรับปรุงค่าเบี้ยประกันจ่าย 3 เดือน

26 กรณี วันจ่ายเงินลงบัญชีไว้เป็นค่าใช้จ่าย (Expense)
วันจ่ายเงินค่าใช้จ่าย Dr. ค่าใช้จ่าย (ระบุชื่อค่าใช้จ่าย) xx Cr. เงินสด xx วันสิ้นงวดจะต้องปรับปรุงบัญชี Dr. ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า(สินทรัพย์)xx Cr. ค่าใช้จ่าย (ระบุชื่อค่าใช้จ่าย) xx

27 กรณี วันจ่ายเงินลงบัญชีไว้เป็นค่าใช้จ่าย(Expense)
โจทย์ จ่ายค่าเบี้ยประกันภัย จำนวน 12,000 บาท สำหรับระยะเวลา 1 ปี สัญญาเริ่ม 1 ต.ค กิจการปิดบัญชี 31 ธันวาคม วันจ่ายค่าใช้จ่าย 1 ต.ค. Dr. ค่าเบี้ยประกันภัยจ่าย ,000 Cr. เงินสด ,000 วันสิ้นงวดจะต้องปรับปรุงบัญชี 31 ธันวาคม Dr. ค่าเบี้ยประกันภัยจ่ายล่วงหน้า 9,000 Cr. ค่าเบี้ยประกันภัยจ่าย ,000 ปรับปรุงค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า 9 เดือน

28 4. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย (Accrued expense)
หมายถึง ค่าสิ่งของหรือบริการที่กิจการได้รับประโยชน์แล้วในงวดบัญชีปัจจุบัน แต่ยังไม่ได้จ่ายเงิน และยังไม่ได้บันทึกบัญชี

29 4. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย (Accrued expense) 4. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
ตัวอย่าง บัญชีค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ค่าเช่าค้างจ่าย (Rent Payable) ดอกเบี้ยค้างจ่าย (Interest Payable) เงินเดือนค้างจ่าย (Salary Payable) ค่าโฆษณาค้างจ่าย (Advertising Payable) เงินปันผลค้างจ่าย (Dividend Payable)

30 4. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 4. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย (Accrued expense)
ในวันสิ้นงวดจะต้องปรับปรุงบัญชี ดังนี้ Dr. ค่าใช้จ่าย….ฯ (ค่าใช้จ่าย) xx Cr. ค่าใช้จ่าย….ค้างจ่าย (หนี้สิน) xx

31 การบันทึกปรับปรุงค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
โจทย์ตัวอย่าง กิจการว่าจ้างโฆษณาตั้งแต่เดือนกันยายน ถึงธันวาคม 25x9 เป็นเงิน 40,000 บาท จนบัดนี้ 31 ธันวาคม ยังไม่ได้จ่ายเงิน วันสิ้นงวดจะต้องปรับปรุงบัญชีค่าใช้จ่ายค้างจ่าย Dr. ค่าโฆษณา ,000 Cr. ค่าโฆษณาค้างจ่าย (หนี้สิน) ,000 ปรับปรุงค่าโฆษณาค้างจ่าย 4 เดือน

32 5. วัสดุสิ้นเปลือง (Supplies on hand)
หมายถึง วัสดุสิ้นเปลืองที่ใช้ในโรงงานหรือสำนักงาน เป็นรายการสินทรัพย์ใช้สิ้นเปลือง มีมูลค่าไม่สูง ตัวอย่าง บัญชีวัสดุสิ้นเปลือง เครื่องเขียนในสำนักงาน (Office supplies) วัสดุงานบ้านงานครัว (Homework supplies) วัสดุโรงงาน (Factory supplies) วัสดุโฆษณา (Advertising supplies)

33 6. วัสดุสิ้นเปลือง 5. วัสดุสิ้นเปลือง (Supplies on hand)
วิธีการบันทึกบัญชี มี 2 วิธี คือ วันซื้อ บันทึกไว้เป็นสินทรัพย์ บัญชีวัสดุสิ้นเปลือง 2) วันซื้อ บันทึกเป็นค่าใช้จ่าย บัญชีค่าวัสดุสิ้นเปลือง

34 การบันทึกบัญชีวัสดุสิ้นเปลือง
วันซื้อ บันทึกเป็นสินทรัพย์ Dr. วัสดุสิ้นเปลือง xx Cr. เงินสด xx วันสิ้นงวดจะต้องปรับปรุงส่วนที่ใช้ไปแล้ว ดังนี้ Dr. วัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป(ค่าใช้จ่าย) xx Cr. วัสดุสิ้นเปลือง xx

35 การบันทึกปรับปรุงวัสดุสิ้นเปลือง
โจทย์ตัวอย่าง ซื้อวัสดุสำนักงานใช้ระหว่างปี 10,000 บาท วันสิ้นงวดบัญชีตรวจนับคงเหลือเป็นเงิน 2,000 บาท วันซื้อ บันทึกเป็นสินทรัพย์ Dr. วัสดุสำนักงาน ,000 Cr. เงินสด ,000 วันสิ้นงวดจะต้องปรับปรุงส่วนที่ใช้ไปแล้ว ดังนี้ Dr. วัสดุสำนักงานใช้ไป (ค่าใช้จ่าย) 8,000 Cr. วัสดุสำนักงาน ,000

36 การบันทึกบัญชีวัสดุสิ้นเปลือง
วันซื้อ บันทึกเป็นค่าใช้จ่าย Dr. ค่าวัสดุสิ้นเปลือง (ค่าใช้จ่าย) xx Cr. เงินสด xx วันสิ้นงวดจะต้องปรับปรุงส่วนที่คงเหลือ ดังนี้ Dr. วัสดุสิ้นเปลือง (สินทรัพย์) xx Cr. ค่าวัสดุสิ้นเปลือง (ค่าใช้จ่าย) xx

37 การบันทึกปรับปรุงบัญชีวัสดุสิ้นเปลือง
โจทย์ตัวอย่าง ซื้อวัสดุสำนักงานใช้ระหว่างปี 10,000 บาท วันสิ้นงวดบัญชีตรวจนับคงเหลือเป็นเงิน 2,000 บาท วันซื้อ บันทึกเป็นค่าใช้จ่าย Dr. ค่าวัสดุสำนักงาน (ค่าใช้จ่าย)10,000 Cr. เงินสด ,000 วันสิ้นงวดจะต้องปรับปรุงส่วนที่คงเหลือ ดังนี้ Dr. วัสดุสำนักงาน (สินทรัพย์) 2,000 Cr. ค่าวัสดุสำนักงาน ,000

38 6. ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวร(Depreciation)
สินทรัพย์ถาวร หมายถึง สินทรัพย์ที่กิจการมีไว้เพื่อใช้ในการดำเนินงาน อายุการใช้ประโยชน์เกินกว่า 1 ปี มีตัวตน เช่น อาคาร อุปกรณ์ รถยนต์

39 6. ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวร(Depreciation)

40 6. ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวร(Depreciation)
มูลค่าเสื่อมสภาพ หมายถึง ราคาทุนของสินทรัพย์หรือราคาอื่นที่ใช้แทนราคาทุนในงบการเงิน หัก ด้วยมูลค่าคงเหลือที่ประมาณไว้

41 อายุการใช้งาน (Estimate number of useful life)
6. ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวร(Depreciation) อายุการใช้งาน (Estimate number of useful life) หมายถึง ระยะเวลาที่กิจการคาดว่าจะได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์

42 อายุการใช้งาน (Estimate useful life)
6. ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวร(Depreciation) อายุการใช้งาน (Estimate useful life) หมายถึง จำนวนผลผลิตหรือจำนวนหน่วยที่กิจการคาดว่าจะได้รับจากการใช้สินทรัพย์

43 ค่าเสื่อมราคาประจำงวด = ราคาทุน - มูลค่าคงเหลือ อายุการใช้งาน
6. ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวร(Depreciation) วิธีคำนวณค่าเสื่อมราคาวิธีเส้นตรง (Straight Line Method ค่าเสื่อมราคาประจำงวด = ราคาทุน - มูลค่าคงเหลือ อายุการใช้งาน

44 อัตราค่าเสื่อมราคาต่อปี = 100
6. ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวร(Depreciation) วิธีคำนวณค่าเสื่อมราคาวิธีเส้นตรง (Straight Line Method อัตราค่าเสื่อมราคาต่อปี = 100 อายุการใช้งาน

45 ค่าเสื่อมราคาประจำงวด
6. ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวร(Depreciation) ค่าเสื่อมราคาประจำงวด = ราคาทุน - มูลค่าคงเหลือ X อัตราคาเสื่อมราคาต่อปี

46 6. ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวร(Depreciation)
Annual Depreciation = Asset Cost – Residual value Estimate number of year of useful life

47 6. ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวร(Depreciation)
การบันทึกบัญชี Dr. ค่าเสื่อมราคา xx Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม-ชื่อสินทรัพย์ xx

48 6. ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวร(Depreciation)
Adjusted Depreciation Dr. Depreciation-expense xx Cr. Accumulated Depreciation –Asset name xx

49 การบันทึกปรับปรุงค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวร
โจทย์ตัวอย่าง กิจการซื้อรถยนต์ 500,000 บาท ประมาณอายุการใช้งาน 5 ปี และคาดว่าเมื่อใช้งานครบตามอายุจะมีมูลค่าคงเหลือที่คาดว่าจะขายได้สุทธิ 100,000 บาท การบันทึกบัญชีค่าเสื่อมราคาต่อปี (12 เดือน) Dr. ค่าเสื่อมราคา ,000 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม-ยานพาหนะ 80,000

50 การแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงิน
สินทรัพย์ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รถยนต์-ราคาทุน ,000 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม-ยานพาหนะ ,000 รถยนต์-ราคาตามบัญชี ,000

51 การแสดงรายการในงบกำไรขาดทุนฯ
รายได้ ค่าใช้จ่าย.- ค่าเสื่อมราคา-ยานพาหนะ 80,000

52 7. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (Allowance for Doubtful Accounts)
ลูกหนี้การค้า เป็นสินทรัพย์ ในงบแสดงฐานะการเงิน จะต้องแสดงด้วยมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับเงินในอนาคต ดังนั้น จึงต้องมีการตั้งค่าเผื่อฯ สำหรับลูกหนี้ที่คาดว่าจะเก็บเงินไม่ได้

53 7. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (Allowance for Doubtful Accounts)
หนี้สงสัยจะสูญ หมายถึง ลูกหนี้ที่คาดว่าจะเก็บเงินไม่ได้ จึงตัดจำหน่ายเป็นค่าใช้จ่ายทางบัญชี (แสดงในงบกำไรขาดทุนฯ) ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หมายถึง จำนวนที่เผื่อไว้สำหรับลูกหนี้ที่คาดว่าจะเก็บเงินไม่ได้ นำไปปรับมูลค่าลูกหนี้ในงบแสดงฐานะการเงิน เพื่อแสดงยอดลูกหนี้สุทธิที่คาดว่าจะเก็บเงินได้

54 การแสดงรายการลูกหนี้ในงบแสดงฐานะการเงิน
การแสดงลูกหนี้การค้าในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันรายงานฐานะการเงิน แสดงด้วยมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับชำระในอนาคต ลูกหนี้การค้าที่คาดว่าจะไม่ได้รับชำระต้องตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ Intermediate Accounting I 54

55 การแสดงรายการลูกหนี้ในงบแสดงฐานะการเงิน
สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน.- เงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสด xx ลูกหนี้การค้า 50,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1, ,000 Intermediate Accounting I 55

56 7. การคำนวณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
วิธีการคำนวณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญมี 2 วิธีคือ 1) คำนวณจากยอดลูกหนี้การค้าปลายงวด 2) คำนวณจากยอดขายเชื่อสุทธิ (ขายเชื่อ-รับคืน-ส่วนลดจ่าย)

57 7. การคำนวณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
การบันทึกปรับปรุงวันสิ้นงวด (ปกติ) Dr. หนี้สงสัยจะสูญ (ค่าใช้จ่าย) xx Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ(ปรับมูลค่าลูกหนี้) xx ปรับปรุงหนี้สงสัยจะสูญในวันสิ้นงวด

58 1) คำนวณจากยอดลูกหนี้ปลายงวด
โจทย์ตัวอย่าง วันสิ้นงวด กิจการมียอดลูกหนี้ปลายงวด 100,000 บาท ในจำนวนนี้คาดว่าจะเก็บเงินไม่ได้ 5% และกิจการเพิ่งจะตั้งประมาณการเป็นปีแรกในวันที่ 31 ธันวาคม Dr. หนี้สงสัยจะสูญ (ค่าใช้จ่าย) 5,000 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (ปรับมูลค่าลูกหนี้) 5,000

59 คำศัพท์ การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หนี้สูญ
คำศัพท์ การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หนี้สูญ หนี้สูญ (Bad Debt) หนี้สงสัยจะสูญ (Doubtful Accounts) ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (Allowance for Doubtful Accounts)

60 คำศัพท์ การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หนี้สูญ
คำศัพท์ การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หนี้สูญ หนี้สูญ (Bad Debt) หมายถึง ลูกหนี้ที่ได้ติดตามทวงถามจนถึงที่สุดแล้วแต่ไม่ได้รับชำระหนี้ (ตัดบัญชีเป็นค่าใช้จ่าย) 60

61 การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หนี้สูญ
คำศัพท์ การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ (Doubtful Accounts) หมายถึง ลูกหนี้ที่กิจการคาดว่าจะเรียกเก็บเงินไม่ได้ และถือเป็นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น 61

62 การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หนี้สูญ
คำศัพท์ การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หนี้สูญ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (Allowance for Doubtful Accounts) หมายถึง จำนวนที่เผื่อไว้สำหรับลูกหนี้ที่คาดว่าจะเรียกเก็บเงินไม่ได้ และบันทึกบัญชีไว้ เพื่อนำไปปรับมูลค่าลูกหนี้ในงบแสดงฐานะการเงิน ให้คงเหลือมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะเรียกเก็บเงินได้ 62

63 โจทย์ตัวอย่าง กิจการมียอดคงเหลือบัญชีต่าง ๆ ณ วันสิ้นงวดบัญชี ดังนี้
ขายสินค้า ,005,000.-บาท Cr. Balance รับคืนสินค้า 3,000.-บาท Dr. Balance ส่วนลดจ่าย 2,000.-บาท Dr. Balance ลูกหนี้การค้า ,000.-บาท Dr. Balance ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,000.-บาท Cr. Balance 63

64 การประมาณการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
ตั้งจากยอดขายสินค้า – ขายเชื่อสุทธิ หรือ ขายรวมสุทธิ โจทย์ตัวอย่าง ยอดขายรวม-สุทธิ 1,000,000 บาท กิจการประมาณหนี้สงสัยจะสูญ 1% ของยอดขายรวม-สุทธิ การคำนวณ 1,000,000x1%= 10,000 **คำนวณได้จำนวนเท่าใดบันทึกปรับปรุงเท่าที่คำนวณได้ การบันทึกบัญชี Dr.หนี้สงสัยจะสูญ (5) 10,000 Cr.ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (1) 10,000 64

65 การยกไปบัญชีแยกประเภท (GL)
บัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ No 1.1 ยอดยกมา ,000 ปรับปรุงค่าเผื่อฯ 10,000 11,000

66 การยกไปบัญชีแยกประเภท (GL)
บัญชีหนี้สงสัยจะสูญ No 55 ปรับปรุงค่าเผื่อฯ 10,000

67 การแสดงรายการในงบกำไรขาดทุนฯ
รายได้.- ขายสินค้า ,005,000 หัก รับคืน 3,000 ส่วนลดจ่าย , ,000 ขายสินค้า-สุทธิ 1,000,000 ค่าใช้จ่าย.- หนี้สงสัยจะสูญ ,000 67

68 การแสดงรายการลูกหนี้ในงบแสดงฐานะการเงิน
สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและเงินฝากธนาคาร xx ลูกหนี้การค้า 50,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 11, ,000 68

69 การประมาณการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
2. ตั้งจากยอดลูกหนี้ปลายงวด 2.1 ตั้งจากยอดลูกหนี้รวม ตัวอย่าง ยอดลูกหนี้ปลายงวด 50,000 บาท ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ยอดดุล เครดิต 1,000 บาท กิจการมีนโยบายตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเป็น 5% ของลูกหนี้ปลายงวด การคำนวณ 50,000x5%= 2,500 จำนวนที่จะต้องปรับปรุง 2,500-1,000=1,500 **จำนวนที่ต้องปรับปรุงต้องดูยอดดุลของบัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 69

70 การประมาณการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
2.1 ตั้งจากยอดลูกหนี้ปลายงวด จำนวนที่จะต้องปรับปรุง 2,500-1,000=1,500 **จำนวนที่ต้องปรับปรุงต้องดูยอดดุลของบัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญการบันทึกบัญชี Dr. หนี้สงสัยจะสูญ(5) 1,500 Cr.ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (1) 1,500 ภายหลังปรับปรุง บัญชีค่าเผื่อฯ มียอดคงเหลือ 1,000+1,500=2,500 70

71 การยกไปบัญชีแยกประเภท (GL)
บัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ No 1.1 ยอดยกมา ,000 ปรับปรุงค่าเผื่อฯ 1,500 2,500

72 การยกไปบัญชีแยกประเภท (GL)
บัญชีหนี้สงสัยจะสูญ No 55 ปรับปรุงค่าเผื่อฯ 1,500

73 การแสดงรายการในงบกำไรขาดทุนฯ
รายได้.- ขายสินค้า ,005,000 หัก รับคืน 3,000 ส่วนลดจ่าย , ,000 ขายสินค้า-สุทธิ 1,000,000 ค่าใช้จ่าย.- หนี้สงสัยจะสูญ ,500 73

74 การแสดงรายการลูกหนี้ในงบแสดงฐานะการเงิน
สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด XX ลูกหนี้การค้า ,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2, ,500 74

75 การประมาณการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
กรณี บัญชีค่าเผื่อฯมียอดคงเหลือ 3,000จำนวนที่จะต้องปรับปรุง 3,000-2,500= 500 **ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเกินความต้องการ การบันทึกบัญชี Dr.ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ(1) 500 Cr.หนี้สงสัยจะสูญ(5) ภายหลังปรับปรุง บัญชีค่าเผื่อฯ มียอดคงเหลือ 3, =2,500 75

76 การยกไปบัญชีแยกประเภท (GL)
บัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ No 1.1 ปรับปรุงค่าเผื่อฯ ยอดยกมา ,000 2,500

77 การยกไปบัญชีแยกประเภท (GL)
บัญชีหนี้สงสัยจะสูญ No 55 ปรับปรุงค่าเผื่อฯ

78 การแสดงรายการในงบกำไรขาดทุนฯ
รายได้.- ขายสินค้า ,005,000 หัก รับคืน 3,000 ส่วนลดจ่าย , ,000 ขายสินค้า-สุทธิ 1,000,000 ค่าใช้จ่าย.- หนี้สงสัยจะสูญ (500) 78

79 การแสดงรายการลูกหนี้ในงบแสดงฐานะการเงิน
สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด XX ลูกหนี้การค้า ,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2, ,500 79

80 การประมาณการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
กรณี ค่าเผื่อมียอดคงเหลือDr.600 จำนวนที่จะต้องปรับปรุง 2, =3,100 **จำนวนบัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญติดลบ การบันทึกบัญชี Dr. หนี้สงสัยจะสูญ(5) 3,100 Cr.ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ(1) 3,100 ภายหลังปรับปรุง บัญชีค่าเผื่อฯ มียอดคงเหลือ 3, =2,500 80

81 การยกไปบัญชีแยกประเภท (GL)
บัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ No 1.1 ยอดยกมา ปรับปรุงค่าเผื่อฯ 3,100 2,500

82 การยกไปบัญชีแยกประเภท (GL)
บัญชีหนี้สงสัยจะสูญ No 55 ปรับปรุงค่าเผื่อฯ 3,100

83 การแสดงรายการในงบกำไรขาดทุนฯ
รายได้.- ขายสินค้า ,005,000 หัก รับคืน 3,000 ส่วนลดจ่าย , ,000 ขายสินค้า-สุทธิ 1,000,000 ค่าใช้จ่าย.- หนี้สงสัยจะสูญ ,100 83

84 การแสดงรายการลูกหนี้ในงบแสดงฐานะการเงิน
สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด XX ลูกหนี้การค้า ,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2, ,500 84

85 8. การบันทึกบัญชีผิดพลาด (Errors)
หมายถึง กิจการการ บันทึกบัญชีผิด หรือ จำนวนเงิน ของรายการค้าที่เกิดขึ้นผิดไป จากเหตการณ์ที่เกิดขึ้นจริง

86 8. การบันทึกบัญชีผิดพลาด (Errors)
บางกรณีกิจการมีการบันทึกบัญชีผิดพลาดซึ่งตรวจพบก่อนที่จะนำเสนองบการเงินนั้น กิจการต้องแก้ไขโดยอาจจะแก้ไขในวันที่พบข้อผิดพลาดหรือแก้ไขในวันสิ้นงวดก็ได้ ซึ่งจะถือว่าเป็นการปรับปรุงรายการประเภทหนึ่งข้อผิดพลาดที่พบนั้นส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจาก -บันทึกตัวเลขผิด -บันทึกชื่อบัญชีผิด -ลืมบันทึกบัญชี การแก้ไขให้ถูกต้องโดยถ้าจะล้างบัญชีออกไปเลยก็ต้องแก้ไขด้วยการบันทึกอีกด้านตรงกันข้าม หรือหากถ้าบันทึกชื่อบัญชีถูกแล้วแต่จำนวนผิดก็ลงเพิ่มหรือลดจำนวน โดยการแก้ไขก็ยังคงต้องยึดหลักบัญชีคู่

87 ตัวอย่าง บันทึกบัญชีผิด
ในระหว่างปีกิจการบันทึกขายเป็นเงินสด แต่บันทึกผิดเป็น ขายเงินเชื่อ 50,000 บาท เดิม บันทึกผิด ดังนี้ เดบิต ลูกหนี้การค้า 50,000 เครดิต ขายสินค้า 50,000 รายการที่ถูกต้อง ต้องบันทึกดังนี้ เดบิต เงินสด 50,000 บันทึกแก้ไข ดังนี้ เดบิต เงินสด 50,000 เครดิต ลูกหนี้การค้า 50,000

88 ตัวอย่าง บันทึกบัญชีผิด
ในระหว่างปี กิจการขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ แต่บันทึกเป็นซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ 20,000 บาท เดิม บันทึกผิด ดังนี้ เดบิต ซื้อ 20,000 เครดิต เจ้าหนี้การค้า ,000 รายการที่ถูกต้อง ต้องบันทึกดังนี้ เดบิต ลูกหนี้การค้า 20,000 เครดิต ขายสินค้า 20,000 บันทึกแก้ไข ดังนี้ เดบิต เจ้าหนี้การค้า 20,000 เครดิต ซื้อ 20,000 บันทึกแก้ไขรายการที่ผิด บันทึกรายการค้าที่ถูกต้อง

89 ตัวอย่าง ลืมบันทึกรายการค้า
ตัวอย่าง    ลืมบันทึกรายการค้า บริษัทฯ พบว่า ลืมบันทึกรายการค้ารายการหนึ่ง โดยพบข้อผิดพลาดดังกล่าวในวันที่ 21 ธันวาคม 25x1 รายการค้าดังกล่าวเป็นรายการที่บริษัทฯ ส่งบิลไปเรียกเก็บเงินจากลูกค้าเป็นค่าบริการจำนวน 40,000 บาท 25x1 ธ.ค. 31  เดบิต ลูกหนี้การค้       40,000              เครดิต รายได้ค่าบริการ           40,000

90 ตัวอย่าง บันทึกจำนวนตัวเลขผิด
ตัวอย่าง  บันทึกจำนวนตัวเลขผิด          ในวันที่ 15 พฤศจิกายน 25x1 บริษัทฯ ออกบิลค่าบริการให้แก่ลูกค้าเพื่อเรียกเก็บเงินจำนวน 62,000 บาท แต่พนักงานบัญชีของบริษัทฯ ลงเป็น 6,200 บาท โดยข้อผิดพลาดดังกล่าวพบก่อนที่จะปิดงบการเงิน เดิมบันทึกผิด ดังนี้ 25x1 พ.ย. 15    เดบิต    ลูกหนี้การค้า                    ,200                       เครดิต    รายได้ค่าบริการ                   6,200 การบันทึกบัญชีที่ถูกต้องบันทึกดังนี้ พ.ย. 15    เดบิต    ลูกหนี้การค้า                       62,000                       เครดิต    รายได้ค่าบริการ                      62,000 จากการเปรียบเทียบพบว่าชื่อบัญชีทั้งด้านเดบิตและด้านเครดิตถูกต้องหมดแล้วเพียงแต่จำนวนเงินไม่ถูกต้องจึงต้องลงเพิ่มเติมไปอีก 55,800 บาทในสมุดรายวันทั่วไปดังนี้ บันทึกแก้ไข ดังนี้ ธ.ค. 31    เดบิต    ลูกหนี้การค้า                      55,800                      เครดิต    รายได้ค่าบริการ                       55,800

91 ตัวอย่าง การบันทึกชื่อบัญชีผิดพลาด
ตัวอย่าง  การบันทึกชื่อบัญชีผิดพลาด          ในวันที่ 15 กรกฎาคม 25x1 บริษัทฯ จ่ายค่าน้ำค่าไฟจำนวน 4,000 บาท เป็นเงินสด แต่กิจการไปบันทึกรายการเป็นค่าแรงด้วยจำนวนเงิน 4,000 บาท เดิม บันทึกผิด ดังนี้ เดบิต   ค่าแรง                                     4,000         เครดิต เงินสด                                    4,000 การบันทึกบัญชีที่ถูกต้อง บันทึกดังนี้ เดบิต    ค่าน้ำค่าไฟ                               4,000          เครดิต  เงินสด                                     4,000 เมื่อบัญชีค่าแรงผิดซึ่งบันทึกไว้ทางด้านเดบิตก็ต้องล้างออกด้วยด้านตรงกันข้าม คือด้านเครดิตและเพิ่มการบันทึกบัญชีด้านเดบิตด้วยบัญชีค่าน้ำค่าไฟ ที่ถูกต้องตามระบบบัญชีคู่ บันทึกแก้ไข ดังนี้ 25x1 ก.ค. 15  เดบิต    ค่าน้ำค่าไฟ                     4,000                  เครดิต    ค่าแรง                           4,000

92 End Q & A


ดาวน์โหลด ppt Accounting Principles

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google