งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
บริษัท อาหารสัตว์ จำกัด ต่อไปนี้เป็นข้อมูลของบริษัทในการเริ่มดำเนินงานใน 2 เดือนแรก ปี25+1

2 ใช้วิธีการคำนวณแบบถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก

3 แผนกผลิต-เดือนมกราคม

4 ไม่มีการผลิตค้างอยู่ในงวดที่ผ่านมา

5 จำนวนหน่วยที่เริ่มผลิตในงวดนี้

6 หน่วยที่ผลิตในงวดนี้จะถูกแบ่งเป็นงานที่ทำเสร็จและงานที่ยังทำไม่เสร็จในงวด งานที่ทำเสร็จจะถูกส่งต่อไปแผนกต่อไป

7 งานที่ผลิตเสร็จแล้ว ใช้ปัจจัยการผลิตครบ

8 ปลายงวดมีงานที่ยังผลิตไม่เสร็จ ซึ่งผลิตไปได้แล้วครึ่งหนึ่ง
– วัตถุดิบใส่ตั้งแต่ต้นกระบวนการผลิต จึงใช้ครบ 200 หน่วย - ต้นทุนแปรสภาพใส่ตามขั้นความสำเร็จ 200*1/2 = 100

9 อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิด150% ตามเกณฑ์ต้นทุนค่าแรงทางตรง
ดังนั้น ค่าแรงทางตรงระหว่างงวด 2,800 บาท คูณ อัตราค่าใช้จ่ายการผลิต % ค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน ,200 บาท

10

11

12 เอาราคาต้นทุนมาหารด้วยจำนวนหน่วยของต้นทุน เช่น ต้นทุนต่อหน่วยของวัตถุดิบได้จากเอา 8,000 หาร 800 เท่ากับ 10

13 หาต้นทุนของสินค้าที่ผลิตเสร็จแล้วของแผนก โดยเอาจำนวนหน่วยที่ผลิตเสร็จไปคูณกับราคาต้นทุนรวมต่อหน่วย

14

15

16

17

18

19 แผนกบรรจุ-เดือนมกราคม

20 เริ่มต้นผลิตจึงยังไม่มีงานที่ทำไม่เสร็จในงวดที่แล้ว

21 เป็นหน่วยที่แผนกที่แล้วผลิตเสร็จแล้วส่งต่อมาบรรจุต่อ ดังนั้นต้องมีจำนวนเท่ากัน

22 หน่วยที่ผลิตในงวดนี้จะถูกแบ่งเป็นงานที่ทำเสร็จและงานที่ยังทำไม่เสร็จในงวด งานที่ทำเสร็จจะเป็นสินค้าสำเร็จรูป

23

24 งานที่ยังทำไม่เสร็จปลายงวดผลิตไปได้ 1 ใน 4 ของทั้งหมด
วัตถุดิบใส่เมื่องานใส่ ดังนั้นงานระหว่างทำปลายงวดยังไม่ได้ใช้วัตถุดิบ ต้นทุนแปรสภาพเท่ากับ 200x1/4 = 50

25

26 ค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานคำนวณได้จาก 50% ของวัตถุดิบ

27

28 ต้นทุนต่อหน่วยเทียบเท่า = เอาต้นทุนทั้งหมดหารหน่วยเทียบเท่า

29

30

31

32

33

34

35 มีสินค้าสำเร็จรูป 400 หน่วย จำหน่ายได้ 90%= 360 หน่วย
ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป makeup 180%= บาท เพราะฉะนั้นขายได้ 360 X = 41,544 บาท

36 นำมาจากรายงานการผลิต
ต้นทุนระหว่างงวด

37 ต้นทุนงานระหว่างทำต้นงวด
ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด

38 จากรายงานการผลิต

39 ต้นทุนงานระหว่างทำต้นงวด
ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด

40 จากรายงานการผลิต

41

42 ลบออกเพราะโอนไปแผนกทันไปแล้ว

43 ขายสินค้าไม่หมด เหลือ 40 หน่วย ต้นทุน 64.11 บาท เท่ากับ 40 X 64.11

44

45

46 แผนกผลิต-เดือนกุมภาพันธ์

47 งานระหว่างทำต้นงวดเดือนกุมภาฯ
งานระหว่างทำปลายงวด ยกไป เป็น งานระหว่างทำต้นงวดเดือนกุมภาฯ ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด ยกไป เป็นต้นทุนงานระหว่างทำต้นงวด

48 หน่วยที่ยังผลิตไม่เสร็จในเดือนมกราคมของแผนกผลิตนำมาผลิตต่อ

49 หน่วยที่นำมาผลิตเพิ่มในเดือนนี้

50 แบ่งเป็นงานที่ผลิตเสร็จและงานที่ยังค้างอยู่

51

52 งานผลิตไปได้สองในสามของการผลิตทั้งหมด ดังนั้นใส่วัตถุดิบครบ แต่ต้นทุนแปรสภาพใส่ตามขั้นความสำเร็จ

53

54 ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด ยกไป
เป็นต้นทุนงานระหว่างทำต้นงวด

55 เอามาจากต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวดเดือนมกราคมของแผนกผลิต

56 4,440 x 150%

57

58

59

60

61

62 งานระหว่างทำปลายงวด ยกไปเป็นงานระหว่างทำต้นงวด ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด

63 หน่วยที่ยังผลิตไม่เสร็จในเดือนมกราคมของแผนกบรรจุ นำมาผลิตต่อ

64

65

66 ปลายงวดทำการผลิตไปได้สามในสี่ จึงยังไม่ใส่วัตถุดิบ แต่ต้นทุนแปรสภาพใส่ตามขั้นความสำเร็จ

67

68 ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด

69 นำมาจากต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวดในเดือนมกราคมของแผนกบรรจุ

70 18,900 x 50%

71

72

73

74 มีสินค้าคงเหลือจากเดือนที่แล้วอยู่ 40 หน่วย รวมกับสินค้าในงวดนี้ 700 หน่วย เป็น 740 หน่วย ขายได้ 90% คือ 666 หน่วย ต้นทุนหน่วยละ บาท makeup 180% เป็น บาท ดังนั้นขายได้ 666 X = 81, บาท

75

76

77

78

79

80

81

82

83 วิธีคำนวณแบบถั่วเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก เราไม่คำนึงถึงสินค้าชิ้นใดมาก่อนหลัง ทำให้ต้องหาต้นทุนรวมของสินค้าในเดือนที่ผ่านมาที่มีต้นทุนไม่เท่ากันมาหาค่าเฉลี่ยด้วย

84 สินค้าสำเร็จรูปที่ขายไม่หมดในเดือนมกราคม
สินค้าสำเร็จรูปที่ขายไม่หมดในเดือนนี้

85

86

87 ใช้วิธีการคำนวณแบบเข้าก่อนออกก่อน(FIFO)

88 เริ่มต้นการผลิตยังไม่มีงานที่ยังทำไม่เสร็จ

89

90

91

92 งานผลิตไปได้ครึ่งหนึ่ง ทำให้ต้องใส่วัตถุดิบทั้งหมด แต่ต้นทุนแปรสภาพใส่ตามขั้นความสำเร็จ

93

94

95 2800 X 150%

96 เอาต้นทุนการผลิตระหว่างงวดหารจำนวนหน่วยเทียบเท่า

97

98

99 รับมาจากแผนกที่แล้ว

100

101

102 งานที่ผลิตยังไม่เสร็จผลิตไปได้ หนึ่งในสี่ ทำให้เรายังไม่ใส่วัตถุดิบ แต่ใส่ต้นทุนแปรสภาพตามขั้นความสำเร็จของงาน

103

104

105 10,000 X 50%

106

107

108

109 ผลิตได้ 400 หน่วย ขายได้ 360 หน่วย
ต้นทุนหน่วยละ บาท makeup เป็น บาท ดังนั้นยอดขายเท่ากับ 360 X

110

111

112

113

114

115

116

117 คำนวณจากเอาจำนวนสินค้าคงเหลือคูณด้วยราคาต้นทุนสินค้า 40 X 64.11

118

119 งานที่ผลิตยังไม่เสร็จจากเดือนมกราคมยกมาผลิตต่อในเดือนนี้

120

121

122

123 เดือนที่ผ่านมางานผลิตไปได้แล้วครึ่งหนึ่ง โดยที่ได้ใส่วัตถุดิบทั้งหมดไปครบแล้ว ส่วนต้นทุนแปรสภาพใส่ตามขั้นความสำเร็จของงาน ในที่นี้งานเสร็จแล้วจึงใส่ที่เหลือให้ครบ

124

125 ปลายงวดงานผลิตไปแล้วสองในสาม ดังนั้นวัตถุดิบจะถูกใส่ไปทั้งหมดตอนต้นขบวนการ ส่วนต้นทุนแปรสภาพใส่ตามขั้นความสำเร็จของงาน

126

127

128 ยกมาจากต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวดเดือนมกราคม

129

130

131

132

133

134

135

136

137

138

139

140

141 ยกยอดมาจากเดือนมกราคมของแผนกบรรจุ

142 รับมาจากแผนกผลิต 900 หน่วย

143 เดือนที่ผ่านมางานผลิตไปได้หนึ่งในสี่ส่วน ดังนั้นงานเสร็จในเดือนนี้จึงพึ่งใส่วัตถุดิบที่เดียวทั้งหมด ส่วนต้นทุนแปรสภาพใส่ตามขั้นความสำเร็จของงาน ไม่ได้รับมาจากแผนกผลิตในเดือนนี้แต่คงค้างมาจากเดือนที่แล้ว

144

145 ปลายงวดงานผลิตไปได้สามในสี่ส่วน ดังนั้นเรายังไม่ใส่วัตถุดิบ แต่ใส่ต้นทุนแปรสภาพตามขั้นความสำเร็จของงาน

146

147

148 ยกยอดมาจากต้นทุนงานระหว่างปลายงวดเดือนมกราคมของแผนกบรรจุ

149

150

151

152

153

154

155

156 จากเดือนมกราคมมีสินค้าคงคลังเหลืออยู่40ชิ้น เดือนนี้ผลิตได้อีก700 ชิ้น รวมเป็น740 ชิ้น ขายได้666 ชิ้น ต้นทุนหน่วยละ บาท makeup180%เท่ากับ บาท ดังนั้นยอดขายคือ 666 X = 81,899.77บาท

157 ต้นทุนงานระหว่างทำต้นงวด ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด
ต้นทุนระหว่างงวด ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด

158 ต้นทุนงานระหว่างทำต้นงวด ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด
ต้นทุนระหว่างงวด ต้นทุนงานระหว่างทำปลายงวด

159 ต้นทุนระหว่างงวด

160

161

162

163 40 X 64.1111(ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูปเดือนมกราคม)

164

165


ดาวน์โหลด ppt ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google