งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คำแนะนำ ฯ แบ่งออกเป็น 5 ส่วน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คำแนะนำ ฯ แบ่งออกเป็น 5 ส่วน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ พ.ศ. 2547

2 คำแนะนำ ฯ แบ่งออกเป็น 5 ส่วน
ส่วนที่ 1 ความหมาย ส่วนที่ 2 วิธีปฏิบัติทางบัญชี ส่วนที่ 3 การแสดงรายการในงบการเงิน และการเปิดเผยข้อมูล ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน

3 ส่วนที่ 4 ตัวอย่างการปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ส่วนที่ 5 การถือปฏิบัติ

4 ส่วนที่ 1 ความหมาย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าเสื่อมราคา อายุการใช้งาน
ราคาทุน ราคาซาก มูลค่ายุติธรรม ราคาตามบัญชี

5 ส่วนที่ 2 วิธีปฏิบัติทางบัญชี
การวัดมูลค่าเริ่มแรกของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ การได้สินทรัพย์หลายชนิดมาในราคารวมกัน การรับบริจาค/อุดหนุนสินทรัพย์ รายจ่ายภายหลังการได้มาซึ่งสินทรัพย์

6 การตีราคาใหม่ ที่ดินได้รับแทนการชำระหนี้ ที่ดินรอการโอนเปลี่ยนสิทธิ์ ค่าเสื่อมราคา การเลิกใช้สินทรัพย์

7 การวัดมูลค่าเริ่มแรกของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
กรณีสินทรัพย์ได้มาโดยการซื้อ ราคาทุน = ราคาซื้อ + ภาษีที่เรียกคืนไม่ได้ + ต้นทุนทางตรงอื่น ๆ - ส่วนลดการค้า - ภาษีที่ได้รับคืน

8 กรณีสร้างสินทรัพย์ขึ้นมาใช้เอง
ราคาทุน = ต้นทุนทางตรงที่เกี่ยวข้องกับการ สร้างสินทรัพย์ + ต้นทุนทางอ้อมที่สามารถปันส่วนให้แก่ สินทรัพย์ที่สร้าง + ต้นทุนในการจัดหาเงินของสินทรัพย์ ระหว่างก่อสร้าง เงินค่าปรับที่ได้รับระหว่างก่อสร้าง เงินประกันการก่อสร้างที่ได้รับ จากการผิดสัญญา

9 ถ้าสินทรัพย์สร้างเสร็จและอยู่ในสภาพ พร้อมใช้งาน
ต้นทุนการกู้ยืม  ดอกเบี้ยจ่ายเพื่อสร้าง สินทรัพย์ (งบกำขาดทุน – ค่าใช้จ่าย/ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน) เงินค่าปรับ  รายได้ค่าปรับจากการ ผิดสัญญาก่อสร้าง (งบกำไรขาดทุน – รายได้ / รายได้อื่น)

10 การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์
1. การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ประเภทเดียวกัน/คล้ายคลึงกัน 2. การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ต่างประเภทกัน/ ไม่คล้ายคลึงกัน

11 การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ประเภทเดียวกัน/คล้ายคลึงกัน
หมายถึง  การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ที่จัด อยู่ในประเภทเดียวกัน  มีประโยชน์ใช้สอยแบบเดียวกัน  มีมูลค่ายุติธรรมเท่ากัน

12 = ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ที่นำไปแลก
ราคาทุนของสินทรัพย์ที่ได้จากการแลกเปลี่ยน = ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ที่นำไปแลก “ไม่ต้องรับรู้ผลกำไร/ขาดทุนจากการแลกเปลี่ยนสินทรัพย์”

13 วิธีปฏิบัติ คิดค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์เดิมที่นำไปแลก ตั้งแต่วันต้นปีถึงวันที่แลกเปลี่ยน โอนปิดบัญชีที่เกี่ยวข้องทั้งหมดของสินทรัพย์เดิมที่นำไปแลก บันทึกสินทรัพย์ที่ได้รับจากการแลกเปลี่ยนด้วยราคาตามบัญชีของสินทรัพย์เดิมที่นำไปแลก

14 ตัวอย่าง เดบิต บัญชีรถยนต์ (ใหม่) 1,200,000
รถยนต์ราคาทุน 2,000,000 บาท ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันแลกเปลี่ยน 800,000 บาท สามารถขายได้ในราคา ตามบัญชีรถยนต์คันใหม่มีมูลค่ายุติธรรม 1,200,000 บาท เดบิต บัญชีรถยนต์ (ใหม่) 1,200,000 บัญชีค่าเสื่อมราคาสะสมรถยนต์ ,000 บัญชีภาษีซื้อ ,000 เครดิต บัญชีรถยนต์ (เก่า) ,000,000 บัญชีภาษีขาย ,000

15 ข้อสังเกต ถ้าสินทรัพย์ที่นำมาแลกเปลี่ยน  เป็นสินทรัพย์ประเภทเดียวกัน
 เป็นสินทรัพย์ประเภทเดียวกัน  มีมูลค่ายุติธรรมไม่เท่ากัน “ถือเป็นการแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ไม่คล้ายคลึงกัน” เพราะมีการ  จ่ายเงินเพิ่ม  รับเงินคืน

16 การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ต่างประเภทกัน/ไม่คล้ายคลึงกัน
หมายถึง การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ที่มีลักษณะ และประโยชน์ใช้สอยแตกต่างกัน

17 ราคาทุนของสินทรัพย์ที่ได้จากการแลกเปลี่ยน
= มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่นำไปแลก บวก/ลบ ด้วยเงินสดที่ต้องจ่ายเพิ่ม/รับคืน “รับรู้ผลกำไร/ขาดทุนจากการแลกเปลี่ยนสินทรัพย์” ถ้ากำไร  งบกำไรขาดทุน - รายได้ / รายได้อื่น ถ้าขาดทุน  งบกำไรขาดทุน – ค่าใช้จ่าย/ ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน

18 วิธีปฏิบัติ คิดค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์เดิมที่นำไปแลก ตั้งแต่วันต้นปีถึงวันที่แลกเปลี่ยน โอนปิดบัญชีที่เกี่ยวข้องทั้งหมดของสินทรัพย์เดิม ที่นำไปแลก บันทึกสินทรัพย์ที่ได้รับจากการแลกเปลี่ยน ด้วยมูลค่ายุติธรรม บันทึกเพิ่ม/ลด ยอดเงินสด บันทึกผลกำไร/ขาดทุนจากการแลกเปลี่ยนสินทรัพย์

19 ตัวอย่าง จากตัวอย่างเดิม ถ้ารถยนต์คันเก่าสามารถขายได้ 1,000,000 บาท รถยนต์คันใหม่มีมูลค่ายุติธรรม 1,300,000 บาท ต้องจ่ายเงินสดเพิ่ม 300,000 บาท เดบิต บัญชีรถยนต์ (ใหม่) ,300,000 บัญชีค่าเสื่อมราคาสะสมรถยนต์ ,000 บัญชีขาดทุนจากการแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ ,000 บัญชีภาษีซื้อ ,000 เครดิต บัญชีรถยนต์ (เก่า) ,000,000 บัญชีเงินสด ,000 บัญชีภาษีขาย ,000

20 การได้สินทรัพย์หลายชนิดมาในราคารวมกัน
การแยกราคาทุนรวม  ให้ประเมินราคาสินทรัพย์แต่ละชนิด  ใช้ราคาประเมินเป็นเกณฑ์ในการแยก ราคาทุนรวม

21 ตัวอย่าง ซื้อที่ดิน อาคารและเครื่องใช้สำนักงานในราคา 240,000บาท
ราคาประเมิน : ที่ดิน ,000 บาท อาคาร ,000 บาท เครื่องใช้สำนักงาน ,000 บาท รวม ,000 บาท การแบ่งราคาทุนรวม ที่ดิน = 240,000 x (240,000/348,000) = 165,517.24 อาคาร = 240,000 x (90,000/348,000) = 62,068.97 เครื่องใช้สำนักงาน = 240,000 x (18,000/348,000) = 12,413.79

22 การรับบริจาค/อุดหนุนสินทรัพย์
ให้ปฏิบัติตาม “ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยสินทรัพย์ที่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับบริจาคหรืออุดหนุนพ.ศ. 2547”

23 ตัวอย่าง 1 ก.ย. 46 ได้รับเงินบริจาค 100,000 บาท เพื่อซื้อเครื่องจักร คิดค่าเสื่อมราคา 5 % ต่อปี วันที่ได้รับบริจาค เดบิต บัญชีเงินสด ,000 เครดิต บัญชีทุนเพื่อจัดหาเครื่องจักร ,000 เดบิต บัญชีเครื่องจักร ,000 เครดิต บัญชีเงินสด ,000

24 31 มี.ค. 47 เดบิต บัญชีค่าเสื่อมราคา 2,904.11
เดบิต บัญชีค่าเสื่อมราคา ,904.11 เครดิต บัญชีค่าเสื่อมราคาสะสม ,904.11 เดบิต บัญชีทุนเพื่อจัดหาเครื่องจักร 2,904.11 เครดิต บัญชีรายได้จากการรับบริจาค 2,904.11

25 ตัวอย่าง 1 ก.ย. 46 เดบิต บัญชีเงินสด 100,000
ถ้าสหกรณ์จ่ายเงินสมทบเพิ่มเติม 20,000 บาทจากทุนขยายกิจการ 1 ก.ย. 46 เดบิต บัญชีเงินสด ,000 เครดิต บัญชีทุนเพื่อจัดหาเครื่องจักร ,000 เดบิต บัญชีเครื่องจักร ,000 เครดิต บัญชีเงินสด ,000 เดบิต บัญชีทุนขยายกิจการ ,000 เครดิต บัญชีทุนสำรอง ,000

26 31 มี.ค. 47 เดบิต บัญชีค่าเสื่อมราคา 3,484.93
เดบิต บัญชีค่าเสื่อมราคา ,484.93 เครดิต บัญชีค่าเสื่อมราคาสะสม ,484.93 เดบิต บัญชีทุนเพื่อจัดหาเครื่องจักร 2,904.11 เครดิต บัญชีรายได้จากการรับบริจาค 2,904.11

27 การปรับปรุงบัญชี กรณีสหกรณ์เปลี่ยนมาปฏิบัติตามคำแนะนำนี้
(1) เดิมบันทึกสินทรัพย์ไว้ในบัญชีสินทรัพย์ เดบิต บัญชีทุนสำรอง xx เครดิต บัญชีทุนเพื่อการนั้น หรือ xx (กรณีสินทรัพย์จัดหามาด้วยเงินอุดหนุน) บัญชีรายได้จากการอุดหนุน/ รับบริจาครอการรับรู้ (กรณีได้รับบริจาคเป็นสินทรัพย์)

28 (2) เดิมบันทึกสินทรัพย์ไว้ในทะเบียน และมีการจ่าย เงินสมทบ
(2) เดิมบันทึกสินทรัพย์ไว้ในทะเบียน และมีการจ่าย เงินสมทบ เดบิต บัญชีสินทรัพย์ xx เครดิต บัญชีค่าเสื่อมราคาสะสม xx บัญชีทุนเพื่อการนั้น หรือ xx บัญชีรายได้จากการอุดหนุน/ รับบริจาครอการรับรู้ บัญชีเงินสมทบเพื่อจัดหา ท/ส รอตัดบัญชี xx บัญชีทุนสำรอง xx

29 (3) เดิมบันทึกสินทรัพย์ไว้ในทะเบียน และไม่มี
การจ่ายเงินสมทบ เดบิต บัญชีสินทรัพย์ xx เครดิต บัญชีค่าเสื่อมราคาสะสม xx บัญชีทุนเพื่อการนั้น หรือ xx บัญชีรายได้จากการอุดหนุน/ รับบริจาครอการรับรู้

30 รายจ่ายภายหลังการได้มาซึ่งสินทรัพย์
รายจ่ายเป็นทุน (Capital Expenditure) รายจ่ายฝ่ายรายได้ (Revenue Expenditure)

31 รายจ่ายเป็นทุน  ส่วนหนึ่งของราคาทุน ของสินทรัพย์
ก่อประโยชน์แก่สหกรณ์หลายงวดระยะเวลาบัญชี ประโยชน์จากการใช้สินทรัพย์เพิ่มขึ้นจากเดิม สินทรัพย์มีสภาพดีขึ้นเมื่อเทียบกับมาตรฐาน การใช้งานเดิม รายจ่ายเป็นทุน  ส่วนหนึ่งของราคาทุน ของสินทรัพย์

32 รายจ่ายฝ่ายรายได้  ค่าใช้จ่ายในงวดบัญชี
รักษาสภาพของมาตรฐานในการใช้งานเดิมไว้ ไม่เพิ่มประสิทธิภาพการใช้งาน จำนวนเงินไม่มาก เกิดขึ้นสม่ำเสมอทุกงวด รายจ่ายในการบำรุงรักษา/ซ่อมแซม ที่ทำให้ สินทรัพย์มีสภาพดีดังเดิม รายจ่ายฝ่ายรายได้  ค่าใช้จ่ายในงวดบัญชี

33 การตีราคาใหม่ กรณีตีราคาสินทรัพย์เพิ่มขึ้น
 เมื่อมีการตีราคาสินทรัพย์เพิ่มขึ้น ส่วนที่ตีเพิ่ม  “บัญชีส่วนเกินทุนจาก การตีราคาสินทรัพย์” (งบดุล – ส่วนของทุน)

34  ต่อมามีการตีราคาสินทรัพย์ลดลง
 นำส่วนที่ตีราคาลดลงไปหักจากบัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ได้ไม่เกินจำนวนที่เคยตีราคาเพิ่มสำหรับสินทรัพย์ ชนิดเดียวกัน  ถ้ามีส่วนเกินให้ถือเป็นค่าใช้จ่าย “ขาดทุนจากการตีราคาสินทรัพย์”

35 ตัวอย่าง สหกรณ์ตีราคาที่ดินเพิ่มขึ้น 40,000 บาท
เดบิต บัญชีที่ดิน ,000 เครดิต บัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน 40,000 ต่อมาได้มีการตีราคาที่ดินลดลง 50,000 บาท เดบิต บัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน 40,000 บัญชีขาดทุนจากการตีราคาที่ดิน 10,000 เครดิต บัญชีที่ดิน ,000

36 กรณีตีราคาสินทรัพย์ลดลง  ถ้าไม่เคยมีการตีราคาสินทรัพย์เพิ่มขึ้นมาก่อน
 ให้รับรู้มูลค่าที่ลดลงเป็นค่าใช้จ่ายทันที “บัญชีขาดทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” ( งบกำไรขาดทุน – ค่าใช้จ่าย / ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน )

37 ถ้าเป็นสินทรัพย์ที่ไม่ต้องคิดค่าเสื่อมราคา
 ให้ปรับลดยอดมูลค่าสินทรัพย์ เดบิต บัญชีขาดทุนจากการตีราคาที่ดิน xx เครดิต บัญชีที่ดิน xx

38 ถ้าเป็นสินทรัพย์ที่ต้องคิดค่าเสื่อมราคา
 ใช้ราคาตลาดเป็นเกณฑ์ในการตีราคา  เพิ่มยอดค่าเสื่อมราคาสะสมของสินทรัพย์ หรือ  ลดมูลค่าคงเหลือตามบัญชีของสินทรัพย์ เดบิต บัญชีขาดทุนจากการตีราคา xx เครดิต บัญชีค่าเสื่อมราคาสะสม หรือ บัญชีสินทรัพย์ xx

39  ต่อมาถ้ามีการตีราคาสินทรัพย์เพิ่มขึ้น
 ให้รับรู้มูลค่าที่เพิ่มขึ้นเป็นรายได้ทันที แต่ต้องไม่เกินจำนวนเงินที่เคยบันทึก เป็นค่าใช้จ่ายในงวดก่อน “บัญชีกำไรจากการตีราคาสินทรัพย์” ( งบกำไรขาดทุน – รายได้ / รายได้อื่น )  ส่วนที่เกิน บันทึกไว้ใน “บัญชีส่วนเกินทุน จากการตีราคาสินทรัพย์”

40 เมื่อมีการตีราคาสินทรัพย์ เพิ่มขึ้น/ลดลง
บันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับการตีราคาสินทรัพย์ไว้ใน  ทะเบียนคุมสินทรัพย์  กระดาษทำการที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา (ไว้ในส่วนของสรุปผลการตรวจสอบและข้อสังเกต)

41 รายละเอียดเกี่ยวกับสินทรัพย์ที่ตีราคาใหม่
 ประเภทสินทรัพย์ที่ตีราคาใหม่  วันที่ที่ตีราคาใหม่  ผลกระทบที่เกิดจากการตีราคาใหม่  ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์  ขาดทุนจากการตีราคาสินทรัพย์

42 ตัวอย่าง สหกรณ์ตีราคาที่ดินลดลง 10,000 บาท
เดบิต บัญชีขาดทุนจากการตีราคาที่ดิน ,000 เครดิต บัญชีที่ดิน ,000 ต่อมาได้มีการตีราคาที่ดินเพิ่มขึ้น 40,000 บาท เดบิต บัญชีที่ดิน ,000 เครดิต บัญชีกำไรจากการตีราคาที่ดิน ,000 บัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน 30,000

43 ที่ดินได้รับแทนการชำระหนี้
 คณะกรรมการดำเนินการพิจารณา ความเหมาะสมในการรับชำระหนี้ด้วยที่ดิน  เกิดจากข้อตกลงที่กระทำขึ้นระหว่างสหกรณ์และสมาชิก  ถือเป็นการชำระหนี้ที่ยังมีภาระผูกพัน

44 การบันทึกบัญชีที่ดินที่ได้รับ
 บัญชี “ที่ดินแทนการชำระหนี้รอจำหน่าย” ( งบดุล – สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น )  บันทึกด้วย “มูลค่ายุติธรรม” (ราคาประเมินโดยสำนักงานที่ดินจังหวัด/ กรมที่ดิน

45 ถ้าราคาประเมิน > เงินคงค้างทั้งสิ้น
โอนปิดบัญชีที่เกี่ยวข้องกับเงินค้างชำระ ทั้งสิ้น  บันทึกบัญชี “ที่ดินแทนการชำระหนี้ รอจำหน่าย”  ผลต่าง บันทึกในบัญชี “เงินรอจ่ายคืน”

46 วิธีการบันทึกบัญชี เดบิต บัญชีที่ดินแทนการชำระหนี้รอจำหน่าย xx

47 ถ้าราคาประเมิน < เงินคงค้างทั้งสิ้น
ถ้าราคาประเมิน < เงินคงค้างทั้งสิ้น  บันทึกบัญชี “ที่ดินแทนการชำระหนี้ รอจำหน่าย”  บันทึกการรับชำระหนี้ตามลำดับ :  ค่าปรับค้างรับ  ดอกเบี้ยค้างรับ  ดอกเบี้ยรับประจำปี  ต้นเงินค้างชำระ

48  เงินค้างชำระส่วนที่เหลือ
 เรียกเก็บจากลูกหนี้ต่อไป  ไม่สามารถเรียกเก็บได้ ให้ดำเนินการ ตามคำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ เรื่องวิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับลูกหนี้ พ.ศ. 2547

49 วิธีการบันทึกบัญชี เดบิต บัญชีที่ดินแทนการชำระหนี้รอจำหน่าย xx

50 ถ้าขายที่ดินได้รับแทนการชำระหนี้ได้
โอนปิดบัญชีที่ดิน แทนการชำระหนี้รอจำหน่าย บันทึกจำนวนเงินที่ได้รับ และรับรู้ผลกำไร/ ขาดทุน จากการจำหน่ายสินทรัพย์ ถ้ากำไร  งบกำไรขาดทุน – รายได้ / รายได้อื่น ถ้าขาดทุน  งบกำไรขาดทุน – ค่าใช้จ่าย / ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน ถ้าจำนวนเงินมีสาระสำคัญ  รายการพิเศษ

51 ที่ดินรอการโอนเปลี่ยนสิทธิ์
ความหมาย ที่ดินซึ่งเอกสารสิทธิ์ระบุชื่อบุคคลภายนอก เป็นเจ้าของสิทธิ์ แต่นำมามอบให้/ทำนิติกรรม ซื้อขายกับสหกรณ์ และสามารถโอนเปลี่ยนมือ ให้สหกรณ์เป็นเจ้าของสิทธิ์โดยมีเงื่อนไขเวลา การได้มา  รับบริจาค  ซื้อ

52  ได้มาโดยการรับบริจาค
เดบิต บัญชีที่ดินรอการโอนเปลี่ยนสิทธิ์ xx ( งบดุล – สินทรัพย์อื่น ) เครดิต บัญชีทุนสำรอง xx เมื่อได้รับโอนกรรมสิทธิ์ เดบิต บัญชีที่ดิน/ที่ดินเพื่อรอการใช้ประโยชน์ xx เครดิต บัญชีที่ดินรอการโอนเปลี่ยนสิทธิ์ xx

53  ได้มาโดยการซื้อ เมื่อได้รับโอนกรรมสิทธิ์
เดบิต บัญชีเงินจ่ายล่วงหน้าค่าที่ดิน xx รอการโอนเปลี่ยนสิทธิ์ ( งบดุล - สินทรัพย์อื่น ) เครดิต บัญชีเงินสด/เงินฝากธนาคาร xx เมื่อได้รับโอนกรรมสิทธิ์ เดบิต บัญชีที่ดิน/ที่ดินเพื่อรอการใช้ประโยชน์ xx เครดิต บัญชีเงินจ่ายล่วงหน้าค่าที่ดิน xx รอการโอนเปลี่ยนสิทธิ์

54 ค่าเสื่อมราคา  วิธีเส้นตรง (Straight line Method)
 วิธีอัตราลดลงตามผลรวมจำนวนปี (Sum of the years’ Digits Method) ปฏิบัติตาม “ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยการบัญชีของสหกรณ์ พ.ศ. 2542”

55 วิธีปฏิบัติ ถ้าเลือกใช้วิธีการคิดค่าเสื่อมราคาสำหรับ สินทรัพย์ใดแล้วต้องใช้วิธีนั้นอย่างสม่ำเสมอ ตลอดอายุการใช้งาน งวดสุดท้ายให้คงเหลือมูลค่า 1 บาทต่อหน่วย เมื่อสิ้นสภาพ/ไม่สามารถใช้งานได้ต่อไป ให้ตัดมูลค่าคงเหลือออกจากบัญชี บันทึกไว้ ในบัญชี “ค่าเสื่อมราคา”

56 การเปลี่ยนวิธีการคำนวณค่าเสื่อมราคา ใช้ในกรณี :
 ซื้อสินทรัพย์ประเภทใหม่  ซื้อสินทรัพย์ประเภทเดิม เพิ่มเติม

57 วิธีที่เลือกใช้ต้องสะท้อนให้เห็นถึง :
 ลักษณะการใช้งาน  ประโยชน์ที่ได้รับ  เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ถูกต้องตรงตามข้อเท็จจริง

58 รายจ่ายที่ทำให้สินทรัพย์มีสภาพดีขึ้นโดยไม่เพิ่มอายุการใช้งาน
การคิดค่าเสื่อมราคากรณีภายหลัง มีรายจ่ายที่ทำให้มูลค่าสินทรัพย์เพิ่มขึ้น รายจ่ายที่ทำให้สินทรัพย์มีสภาพดีขึ้นโดยไม่เพิ่มอายุการใช้งาน  เงินที่จ่ายเป็นส่วนหนึ่งของราคาทุน สินทรัพย์  คิดค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ส่วนที่ปรับปรุง ตามอายุการใช้งานคงเหลือ

59 ตัวอย่าง อาคารมูลค่า 1,000,000 บาท เริ่มใช้งาน 1 ม.ค. 31อายุใช้งาน 20 ปี ใช้งานมาแล้ว 15 ปี 1 ม.ค. 46 จ่ายเงินปรับปรุงอาคารให้มีสภาพดีขึ้น 200,000 บาท อายุการใช้งานเท่าเดิม 1 ม.ค. 46 เดบิต บัญชีอาคาร ,000 เครดิต บัญชีเงินสด ,000 31 ธ.ค. 46 เดบิต บัญชีค่าเสื่อมราคา 90,000 เครดิต บัญชีค่าเสื่อมราคาสะสม ,000

60 การคำนวณ หรือ ค่าเสื่อมราคา (เดิม) = 1,000,000/20 = 50,000
ค่าเสื่อมราคา (เดิม) = 1,000,000/20 = 50,000 ค่าเสื่อมราคา (ส่วนที่ปรับปรุง) = 200,000/5 = 40,000 90,000 หรือ ราคาตามบัญชีก่อนปรับปรุง = 250,000 ราคาทุนส่วนที่ปรับปรุง = 200,000 450,000 ค่าเสื่อมราคาอาคารหลังปรับปรุง = 450,000/5 = 90,000

61 รายจ่ายที่ทำให้สินทรัพย์มีสภาพดีขึ้น และอายุการใช้งานเพิ่มขึ้น
 เงินที่จ่ายเป็นส่วนหนี่งของราคาทุน สินทรัพย์  คิดค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ตามอายุ การใช้งานคงเหลือที่เปลี่ยนไป

62 ตัวอย่าง 1 ม.ค. 41 ซื้อเครื่องจักร 60,000 บาท อายุการใช้งาน 10 ปี ใช้งานมาแล้ว 5 ปี 1 ม.ค. 46 จ่ายเงินปรับปรุงเครื่องใหม่ 8,000 บาท ทำให้ใช้งานต่อไปได้อีก 8 ปี เดบิต เครื่องจักร/ค่าเสื่อมราคาสะสม 8,000 เครดิต เงินสด 8,000 เดบิต ค่าเสื่อมราคา ,750 เครดิต เครื่องจักร/ค่าเสื่อมราคาสะสม ,750

63 ค่าเสื่อมราคาปีละ = 38,000 / 8 = 4,750
การคำนวณ ราคาตามบัญชีหลังปรับปรุง(วิธีบันทึกค่าเสื่อมราคาสะสม) = 60,000 – [(60,000 x 5/10) - 8,000)] = 38,000 หรือ ราคาตามบัญชีหลังปรับปรุง(วิธีหักค่าเสื่อมราคาจากส/ท) = 30, ,000 ค่าเสื่อมราคาปีละ = 38,000 / 8 = 4,750

64 การเลิกใช้ สินทรัพย์หมดอายุการใช้งาน สินทรัพย์ยังไม่หมดอายุการใช้งาน
สินทรัพย์สูญหาย/ได้รับความเสียหาย ไม่ทำประกันภัย ทำประกันภัย

65 สินทรัพย์หมดอายุการใช้งาน
 ไม่มีมูลค่าซาก  คิดค่าเสื่อมราคาจนหมดมูลค่าสินทรัพย์

66  ถ้ามีมูลค่าซาก  เกิด “ผลขาดทุนจากการเลิกใช้สินทรัพย์” เท่ากับ “ราคาซาก” ( งบกำไรขาดทุน – ค่าใช้จ่าย / ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน )

67 วิธีการบันทึกบัญชี เดบิต บัญชีค่าเสื่อมราคาสะสม xx
หรือ เดบิต บัญชีขาดทุนจากการเลิกใช้สินทรัพย์ xx เครดิต บัญชีสินทรัพย์ (ราคาตามบัญชี) xx

68  ถ้าขายซากได้ในปีเดียวกับปีที่เลิกใช้
จำนวนเงินที่ขายซากได้  นำไปลดยอด ขาดทุนจากการเลิกใช้สินทรัพย์ ถ้าราคาขาย > มูลค่าซาก = ผลต่าง  นำไปลดยอดขาดทุนจากการเลิกใช้ สินทรัพย์  ถ้ามีส่วนเกิน บันทึกเป็น “กำไรจากการ จำหน่ายสินทรัพย์”

69 วิธีการบันทึกบัญชี เดบิต บัญชีเงินสด/เงินฝากธนาคาร xx

70 ถ้าขายซากได้ในปีถัดจากปีที่เลิกใช้
 รับรู้รายได้ “กำไรจากการจำหน่าย สินทรัพย์” ( งบกำไรขาดทุน – รายได้ / รายได้อื่น ) เดบิต บัญชีเงินสด/เงินฝากธนาคาร xx เครดิต บัญชีกำไรจากการจำหน่ายสินทรัพย์ xx บัญชีภาษีขาย xx

71 สินทรัพย์ยังไม่หมดอายุการใช้งาน
 เลิกใช้ถาวร  คิดค่าเสื่อมราคาต่อไปจนกว่าจะขาย สินทรัพย์ได้  หมายเหตุเกี่ยวกับการเลิกใช้ในทะเบียนคุม สินทรัพย์

72  ถ้าขายสินทรัพย์ที่เลิกใช้ได้
 คิดค่าเสื่อมราคาตั้งแต่วันต้นปีบัญชีถึง วันที่ขาย  โอนปิดบัญชีที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ที่เลิกใช้  ผลต่าง “บัญชีกำไร (ขาดทุน) จากการ จำหน่ายสินทรัพย์”

73 วิธีการบันทึกบัญชี เดบิต บัญชีเงินสด/เงินฝากธนาคาร xx
(กรณีขาดทุน) เครดิต บัญชีสินทรัพย์ (ราคาทุน) xx บัญชีกำไรจากการจำหน่ายสินทรัพย์ xx (กรณีกำไร) บัญชีภาษีขาย xx

74 เลิกใช้ชั่วคราว  มีมติที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ
 มีมติที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ - ประเภทสินทรัพย์ที่เลิกใช้ - วันที่เลิกใช้ - เหตุผลของการเลิกใช้  ให้คิดค่าเสื่อมราคาตั้งแต่วันต้นปีถึงวันที่เลิกใช้

75  ถ้านำกลับมาใช้ใหม่  มีมติที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ
- ประเภทสินทรัพย์ที่นำกลับมาใช้ใหม่ - วันที่เริ่มใช้ - เหตุผลที่นำกลับมาใช้ใหม่  ให้คิดค่าเสื่อมราคา ตั้งแต่วันที่เริ่มใช้ถึง วันสิ้นปีบัญชี (โดยใช้อายุการใช้งานที่เหลือเป็นเกณฑ์ในการคำนวณ)

76 สินทรัพย์สูญหาย/เสียหาย ก่อนหมดอายุการใช้งาน
สินทรัพย์สูญหาย/เสียหาย ก่อนหมดอายุการใช้งาน ไม่ได้ทำประกัน สูญหาย/เสียหายโดยสิ้นเชิง  คิดค่าเสื่อมราคาตั้งแต่วันต้นปีถึงวันที่ สูญหาย/เสียหาย  โอนปิดบัญชีที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ผลต่าง “ค่าเสียหายจากสินทรัพย์ ” ( งบกำไรขาดทุน – รายการพิเศษ )

77 วิธีการบันทึกบัญชี เดบิต บัญชีค่าเสียหายจากสินทรัพย์..... xx

78  ถ้ามีค่าใช้จ่ายที่เกิดจากความเสียหาย
 ถ้ามีค่าใช้จ่ายที่เกิดจากความเสียหาย  ค่าเสียหายจากสินทรัพย์ (ปีที่เสียหาย)  ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน (ถัดจากปีที่เสียหาย) เดบิต บัญชีค่าเสียหายจากสินทรัพย์ xx บัญชีภาษีซื้อ xx เครดิต บัญชีเงินสด/เงินฝากธนาคาร xx

79 ถ้าขายซากได้  รายได้อื่น
เดบิต บัญชีเงินสด/เงินฝากธนาคาร xx เครดิต บัญชีรายได้อื่น xx บัญชีภาษีขาย xx

80  เสียหายบางส่วน  ประเมินราคาสินทรัพย์
 ปรับปรุงบัญชีให้มูลค่าคงเหลือเท่ากับ ราคาประเมิน  ผลต่าง “ค่าเสียหายจากสินทรัพย์ ”

81 วิธีการบันทึกบัญชี เดบิต บัญชีค่าเสียหายจากสินทรัพย์....... xx

82 ถ้านำไปซ่อมแซมและใช้งานได้ต่อไป
บันทึกค่าซ่อมแซม เป็น  ค่าเสียหายจากสินทรัพย์ (ปีที่เสียหาย)  ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน (ถัดจากปีที่เสียหาย)  คิดค่าเสื่อมราคาต่อไปตามอายุ การใช้งานคงเหลือ

83 ทำประกัน  เสียหายสิ้นเชิง
 ปฏิบัติเหมือนกรณีไม่ได้ทำประกัน และสินทรัพย์เสียหายโดยสิ้นเชิง  เงินค่าสินไหมทดแทนบันทึกเป็น “รายได้อื่น”

84 วิธีการบันทึกบัญชี เดบิต บัญชีเงินสด/เงินฝากธนาคาร xx

85  ประเมินราคาสินทรัพย์
 เสียหายบางส่วน  มีการซ่อมแซม/เปลี่ยนแทนใหม่  ประเมินราคาสินทรัพย์  ปรับปรุงบัญชีให้มูลค่าคงเหลือเท่ากับราคา ประเมิน  ผลต่าง “ค่าเสียหายจากสินทรัพย์......”  ถ้ามีค่าซ่อมแซม บันทึก “ค่าเสียหายจาก สินทรัพย์” หรือ “ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน”  คิดค่าเสื่อมราคาต่อไปตามอายุการใช้งานคงเหลือ

86 ค่าเบี้ยประกัน  ถ้ากรมธรรม์ใช้ได้กับสินทรัพย์ที่ซ่อมแซมแล้ว
 ปรับปรุงบัญชีค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับงวดบัญชี  ถ้ากรมธรรม์ไม่มีผลบังคับใช้กับสินทรัพย์ ที่ซ่อมแซมแล้ว  โอนปิดบัญชีค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า บันทึกในบัญชี “ค่าเสียหายจากสินทรัพย์.....”

87 การแสดงรายการในงบการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุ
ส่วนที่ 3 การแสดงรายการในงบการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน

88 ส่วนที่ 4 ตัวอย่าง

89 ส่วนที่ 5 การถือปฏิบัติ ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2547 เป็นต้นไป

90 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt คำแนะนำ ฯ แบ่งออกเป็น 5 ส่วน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google