งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
Advertisements

นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
สุพรรณบุรี นายวีรวุฒิ ประวัติ นายสมศักดิ์ วิริยะธนาวุฒิวงษ์
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ระยอง นายสมชัย ฉายศรีศิริ นายปรพล เจริญพงษ์ นายสมหมาย เอี่ยมมงคลสกุล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
โครงงานเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดอุทัยธานี
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
สรุป การเมืองการปกครองท้องถิ่น ไทย POL 341 ผศ. ดร. ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร คณะรัฐศาสตร์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต.
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
กลุ่มเกษตรกร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
(โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
ลำปาง นายยรรยง พลสันติกุล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
ทะเบียนสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
นาย พิศณุ นิลกลัด.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.สุกัญญา พิมพ์ตีข้อ ม.4 MEP-A เลขที่ 20

การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน เป็นการเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน เป็นการเก็บข้อมูลที่มาการตั้งถิ่นฐาน ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน แสดงให้เห็นวิถีการดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่น วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ทราบประวัติความเป็นมาของท้องถิ่น 2.เพื่อให้ทราบศักยภาพของท้องถิ่น 3.เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจในท้องถิ่น

การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน วัสดุ/อุปกรณ์ 1. คอมพิวเตอร์ 2. โทรศัพท์ 3. สมุด 4.ดินสอ

การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน วิธีการ 1.สอบถามข้อมูลจากที่ทำการผู้ใหญ่/ที่ทำการกำนัน/องค์การบริหารส่วน ท้องถิ่น(อบต./เทศบาล) 2.สัมภาษณ์หรือสอบถามข้อมูลจากบุคคล เช่น ผู้อาวุโส ผู้รู้ในท้องถิ่น 3.เข้าร่วมกิจกรรมในหมู่บ้าน

การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน สิ่งที่ได้รับจากการทำใบงาน 1.ได้รู้ประวัติความเป็นมาของท้องถิ่น 2.ได้รู้ว่าในชีวิตประจำวันคนในหมู่บ้านทำอะไรบ้าง 3.เกิดความภาคภูมิใจในท้องถิ่น 4.ได้ฝึกการสัมภาษณ์ 5.ได้ทราบศักยภาพของท้องถิ่น

ใบงานที่ 1.8 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน ตำบลแปลงยาว ตั้งขึ้นเมื่อปี 2360 ใครเป็นผู้ตั้งไม่ปรากฏแน่นอน สภาพเดิมเป็นป่าไม้ไผ่และป่าไม้เบญจพรรณ พื้นที่เป็นที่ราบลุ่มและราบสูง พื้นที่ที่เป็นที่ราบลุ่มมีลักษณะลำรางเป็นแปลงที่ยาวมาก ชาวบ้านจึงเรียกว่า "แปลงยาว" ตามสภาพภูมิศาสตร์จึงตั้งชื่อเป็นตำบลแปลงยาว จนถึงปัจจุบัน ประชาชนส่วนใหญ่มีเชื้อสายเขมรซึ่งอพยพมาจากมณฑลบูรพา พระตะบอง เสียมราช และศรีโสภณ ครั้งสมัยรัชกาลที่ 1 ต่อมาได้มีประชาชนหมู่บ้านใกล้เคียงอพยพมาอยู่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จึงกลายเป็นหมู่บ้าน ที่มีประชากรหนาแน่นมากในปัจจุบัน

ใบงานที่ 1.8 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน การบริหารราชการแผ่นดินของประเทศไทยนั้น ได้แบ่งการรูปแบบการปกครองออกเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่ การรวมอำนาจที่ส่วนกลาง , การแบ่งอำนาจในรูปของจังหวัดและอำเภอ และการกระจายอำนาจ ใช้การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น สภาตำบลวังเย็นเกิดขึ้นตามแนวความคิดการกระจายอำนาจ โดยสมาชิกสภาตำบลโดยตำแหน่งจะประกอบด้วย กำนัน ผู้ใหญ่บ้านของทุกหมู่บ้านในตำบล และแพทย์ประจำตำบล ซึ่งในปี พ.ศ.2538 กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดตั้งสภาตำบลวังเย็น เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น ประกาศ ณ วันที่ 2 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2538 โดยมี นายสายศักดิ์ ลีอนันต์ กำนันตำบลวังเย็น เป็นประธานกรรมการบริหาร (โดยตำแหน่ง) คนแรก และต่อมาได้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น ในวันอาทิตย์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2546 โดยมีสมาชิกที่ได้รับการเลือกตั้งจากประชาชน จำนวน 20 คน ซึ่งเป็นตัวแทนจากหมู่บ้าน ๆ ละ 2 คน จนกระทั่งเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 ที่ประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น ในคราวการประชุมสมัยวิสามัญ สมัยที่ 2 ประจำปี 2549 ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2549 คณะผู้บริหารได้เสนอญัตติ เรื่อง ขอรับความเห็นชอบในการจัดตั้งและเปลี่ยนแปลงฐานะองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็นเป็นเทศบาลตำบลวังเย็นเข้าสู่ที่ประชุมสภาเพื่อขอความเห็นชอบและที่ประชุมสภาได้พิจารณาแล้ว มีมติเห็นชอบให้ดำเนินการจัดตั้งและเปลี่ยนแปลงฐานะองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็นได้ ด้วยคะแนนเสียง 17 เสียง (ขาดประชุม 2 คน) หลังจากที่ประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็นได้ให้ความเห็นชอบแล้ว ในช่วงเดือนตุลาคม 2549 องค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น (ในขณะนั้น) ได้ดำเนินการทำประชาพิจารณ์เพื่อรับฟังความคิดเห็นของ ประชาชนว่าประสงค์จะให้องค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็นยกฐานเป็นเทศบาลตำบลวังเย็นหรือไม่ ซึ่งผลจากการประชาพิจารณ์ประชาชนในพื้นที่เห็นด้วยกับการยกฐานะเป็นเทศบาล ตำบลคิดเป็นร้อยละ 91.36 ของผู้ที่เข้าร่วมประชาพิจารณ์ ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550 กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็นเป็นเทศบาลตำบลวังเย็น ประกาศ ณ วันที่ 26 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550 โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2550 เป็นต้นไป มีผลให้สมาชิกภาพของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็นสิ้นสุดลงและนายกองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็นพ้นจากตำแหน่งนับแต่วันที่มีประกาศจัด ตั้ง บรรดางบประมาณ ทรัพย์สิน สิทธิ สิทธิเรียกร้อง หนี้ พนักงานส่วนตำบลและลูกจ้างขององค์การบริหารส่วนตำบลโอนไปเป็นของเทศบาลที่จัดตั้งขึ้น ใบงานที่ 1.8 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน วิถีชีวิต วิถีชีวิตดั้งเดิมของคนไทย คือ การเป็นสังคมเกษตรกรรมที่ทุกคนอาศัยอยู่รวมกันเป็นชุมชนในระดับครอบครัว เป็นครอบครัวขยายที่มีคนหลายรุ่นอาศัยอยู่รวมกัน คือ รุ่นปู่ย่าตายาย รุ่นพ่อแม่ รุ่นลูก รุ่นหลาน รวมทั้งมีญาติพี่น้องอาศัยอยู่ใกล้ชิดกัน โดยมีศูนย์กลางของชุมชน คือ ศาสนสถาน เช่น วัด มัสยิด ผู้ใหญ่ในชุมชน เช่น พระ ผู้ใหญ่บ้าน ผู้เฒ่าผู้แก่

วิถีชีวิต ได้รับการนับถือและเป็นผู้ตัดสินความขัดแย้งในชุมชน มีขนบธรรมเนียมประเพณี การละเล่น และความเชื่ออันเนื่องมาจากการเป็นสังคมเกษตรกรรม จากการนับถือศาสนาและความเชื่อดั้งเดิมเรื่องการนับถือผีสางเทวดา

ใบงานที่ 1.8 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน วิถีชีวิตในอดีต

ใบงานที่ 1.8 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน วิถีชีวิต ปัจจุบันมีการใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของคนไทยหลายอย่าง เช่น เกิดโรงงานอุตสาหกรรมจำนวนมาก คนในชนบทอพยพมาทำงานโรงงานมากขึ้น

วิถีชีวิตในปัจจุบัน

ใบงานที่ 1.9 แบบบันทึกข้อมูลวิถีชีวิต ชื่อกลุ่ม ออฟอ วัน/เดือน/ปี 1 / กรกฎาคม / 2561 สถานที่บันทึก บ้านเลขที่ 63/2 ม.3 ต.วังเย็น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา 24190 และ บ้านเลขที่ 22/4 หมู่.2 ต.เสม็ดใต้ อ.บางคล้าจ.ฉะเชิงเทรา 24110 รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม 1. น.ส.สุกัญญา พิมพ์ตีข้อ 2. น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ

ผู้ให้ข้อมูลที่ 1 ชื่อ-สกุล นางน้อย พิมพ็ตีข้อ อาชีพ ค้าขาย อายุ 58 ปี ที่อยู่ 63/2 ม.3 ต.วังเย็น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา 24190 -วิถีชีวิตรอบวัน (กิจวัตรประจำวัน การประกอบอาชีพ ฯลฯ) ทาสี(ขายศาลพระภูมิ) ทำงานบ้าน ดูทีวี และดูแลหลาน -วิถีชีวิตรอบสัปดาห์ (การทำบุญวันพระ ฯลฯ) ทำบุญวันพระต่างๆที่วัดหนองหินช่วยงานที่วัดเช่น ล้างจาน กวาดศาลาวัด

-วิถีชีวิตรอบเดือน (ประชุมรายเดือน การพัฒนาหมู่บ้าน ฯลฯ) ประชุมเกี่ยวกับการพัฒนาหมู่บ้าน -วิถีชีวิตรอบปี (ประเพณี วัฒนธรรม ฯลฯ) งานทำบุญบ้าน ทำบุญทอดกฐิน ทำบุญตักบาตรเทโว

ผู้ให้ข้อมูลที่ 2 ชื่อ-สกุล นางบุญชู ฤทธิ์เจริญ อาชีพ เกษตรกร อายุ 64 ปี ที่อยู่ 22/4 ม.2 ต.เสม็ดใต้ อ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา 24110 -วิถีชีวิตรอบวัน (กิจวัตรประจำวัน การประกอบอาชีพ ฯลฯ) เลื้องกุ้ง ทำอาหาร ทำงานบ้าน ดูโทรทัศน์ ดูแลบ้าน -วิถีชีวิตรอบสัปดาห์ (การทำบุญวันพระ ฯลฯ) ตักบาตรในตอนเช้าทุกเช้า จะมีพระมาบินฑบาต

ตัวอย่างวิถีชีวิต - ทำบุญบ้าน - ทำบุญทอดกฐิน

ตัวอย่างวิถีชีวิต - ทำบุญตักบาตรโว - ทำบุญเข้าพรรษา

ตัวอย่างวิถีชีวิต - สวดมนต์ข้ามปี - ลอยกระทง