ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
Advertisements

บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
ชิ้นงานที่ 1 ณัฐนันท์ สัญวงษ์ ความหมายและคุณค่าของ การทำโครงงาน คอมพิวเตอร์
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
SECTION VIEWS การเขียนภาพลายตัด week 5
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
Entity-Relationship Model E-R Model
ปริมาณสเกล่าร์ และปริมาณเวกเตอร์
การเขียนโปรแกรม ภาษาซีเบื้องต้น โดย คุณครูปวีณา แนววงศ์
การใช้กราฟิก Cycle Graph
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กระบวนการของการอธิบาย
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
ระดับทะเลปานกลาง (MSL)
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
บรรยายครั้งที่ 5 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
Key Performance Indicators (KPI)
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
Basic Input Output System
Scene Design and Lighting Week1-3
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
World Time อาจารย์สอง Satit UP
หลักศิลปะเพื่องานออกแบบจัดสวน (Principle of Art for Landscape design)
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
การหักเหของแสง การหักเหของแสง คือ การที่แสงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งที่มีความหนาแน่นต่างกันจะทำให้แสงมีความเร็วต่างกันส่งผลให้ทิศทางของแสงเปลี่ยนแปลงไป.
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ประติมากรรมเพื่อการพาณิชย์ (Commercial Sculpture) โดย อาจารย์สันติสุข แหล่งสนาม ภาคการศึกษาที่ 2/2559.
Orthographic Projection week 4
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
ความดัน (Pressure).
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ประเภทรายการและรูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง
บรรยายครั้งที่ 7 - กราฟิกวิศวกรรม 1
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
สัปดาห์ที่ 9 Designs by SolidWorks
การสเก็ตภาพสามมิติ(Three-Dimensional Pictorials )
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
โดย หัวหน้างานบริหารทั่วไป
Class Diagram.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตภาคใต้
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6

เนื้อหาในสัปดาห์ที่ 6 1. Basic of Sectioning 2. Section Line & Cutting Plane Line 3. Type of Section (Full Section / Half Section / Offset Section / Broken-out section / Aligned Section (Conventional Revolution) / Revolved Section / Removed Section) 4. Conventional Breaks 5. Rib, Web and Spoke

ภาพตัด (Section view) การตัด (Section) คือ ภาพที่แสดงการตัดหรือผ่าวัตถุ โดยสามารถมองเห็นรายละเอียดของวัตถุ, เนื้อวัตถุและที่ว่างได้อย่างชัดเจน การตัด (Section) คือ การผ่าวัตถุเพื่อให้มองเห็น หรือแสดงส่วนที่มีลักษณะซับซ้อนของวัตถุ ซึ่งไม่สามารถแสดงด้วยภาพฉาย Orthographics ได้

วัตถุประสงค์ เข้าใจหลักการเบื้องต้นของการเขียนภาพตัด ประเภทต่าง ๆ สามารถเขียนและอ่านแบบภาพตัดประเภท ต่าง ๆ ได้

ภาพตัด (Section view)

ภาพตัด (Section view) 2 3 1

View สำหรับการวางระนาบตัด View สำหรับการแสดงหน้าตัดที่ถูกตัด(Section View)

องค์ประกอบของภาพตัด (Section view) 1. เส้นแสดงแนวการตัด (Cutting Plane Line) คือ เส้นที่ใช้เป็นระนาบในการตัด 2. Section Line (สัญลักษณ์ของเนื้อวัตถุ) คือ เส้นที่แสดงหน้าตัดหรือเนื้อวัตถุที่ถูกระนาบตัดผ่าน

ลักษณะของ Cutting Plane Line น้ำหนักของเส้นเท่ากับ Visible line

ลักษณะของ Section Line น้ำหนักของเส้นเท่ากับ Center line

ข้อกำหนดของภาพตัด การเขียนภาพตัดจะประกอบด้วย ภาพฉาย 2 ด้านเสมอ คือ ภาพฉายด้านที่แสดงเส้นแนวการตัด และภาพด้านที่แสดงหน้าตัดที่ถูกตัดผ่าน (Section View)

แบบฝึกหัด จากรูป ให้เขียนภาพด้านที่แสดงเส้น แนวการตัด และ Section View

เฉลย

Hidden Line ในภาพตัด ส่วนใหญ่จะไม่นิยมเขียนเส้นประ (Hidden line) ในภาพตัด เนื่องจากในภาพตัดเราจะสนใจรายละเอียดบริเวณที่มองไม่เห็นหรือโดนบังอยู่แล้ว แต่บางครั้งอาจมีความจำเป็นที่ต้องเขียนเส้นประ หากรูปนั้นเราต้องการแสดงบริเวณที่โดนบังเพื่อให้รูปมีสมบูรณ์มากขึ้น

Hidden Line ในภาพตัด

ข้อควรระวังในการเขียนภาพตัด การลากเส้นตัด (Section Line) โดยปกติให้เอียงทำมุมประมาณ 30๐ 45 ๐ หรือ 60 ๐ แต่จะต้องไม่ให้ขนานหรืออตั้งฉากกับกรอบรูป

ข้อควรระวังในการเขียนภาพตัด การเขียนหัวลูกศรบน Cutting Plane Line ให้ ชี้หัวลูกศรไปในทิศทางการมองรูปและต้องวาง Section view ที่ด้านหลังของทิศทางลูกศร

ข้อควรระวังในการเขียนภาพตัด การเขียนเส้นในภาพตัด (Section view)

ประเภทของภาพตัด FULL SECTION HALF SECTION OFFSET SECTION BROKEN-OUT SECTION ALIGNED SECTION (* CONVENTIONAL REVOLUTION)

ประเภทของภาพตัด REVOLVED SECTION REMOVED SECTION * CONVENTIONAL BREAKS

1. FULL SECTION เป็นการตัดผ่านตลอดวัตถุเต็ม

ข้อสังเกตของ Full Section ระนาบตัด ตัดผ่านทั้งชิ้นงานเป็นเส้นตรง แสดงรอยตัด (Section Line) ตลอดทั้งชิ้นงานที่ถูกตัดผ่าน

2. HALF SECTION เป็นการตัดวัตถุเพียงครึ่งเดียว นิยมใช้กับวัตถุที่มีความสมมาตร

ข้อสังเกตของ Half Section ระนาบตัด ตัดผ่านชิ้นงานแค่ครึ่งหนึ่ง แล้วหักศอก 90๐ ดังรูป แสดงรอยตัด (Section Line) แค่ครึ่งเดียว เส้นที่กั้นระหว่างด้านที่ถูกตัดกับด้านที่ไม่ถูกตัด คือ เส้น Center Line

3. OFFSET SECTION เป็นการตัดแบบ Full section ประเภทหนึ่ง แต่มีการหักเหทิศทางเพื่อแสดงให้เห็นส่วนที่สำคัญ

ข้อสังเกตของ Offset Section ส่วนใหญ่จะใช้กับรูปที่มีรูเจาะอยู่เยื้องไม่ตรงกัน แสดงรอยตัด (Section line) บริเวณที่รอยตัด ตัดผ่าน บริเวณที่เกิดการหักมุมของเส้นระนาบตัด จะไม่แสดง เส้นทึบ ที่ด้านแสดงรอยตัด

3. OFFSET SECTION

4. BROKEN-OUT SECTION เป็นการตัดที่แสดงบางส่วนที่สำคัญของวัตถุ Break line

5. ALIGNED SECTION CONVENTIONAL REVOLUTION เป็นหลักปฏิบัติในการเขียนภาพฉายตั้งฉาก เพื่อลดความยุ่งยากซับซ้อนของการเขียนและการอ่านแบบ จากลักษณะของการฉายภาพที่ทำให้เกิดความไม่สมมาตร

5. ALIGNED SECTION CONVENTIONAL REVOLUTION

5. ALIGNED SECTION สำหรับการเขียนภาพตัด ได้นำวิธีการ Conventional Revolution มาใช้เช่นกัน โดยจะเรียกภาพตัดที่ใช้วิธีการนี้ว่า Aligned Section

5. ALIGNED SECTION

ข้อสังเกตของ ALIGNED SECTION เส้น Cutting Plane Line สามารถเขียนแสดงได้ 2 ลักษณะ ดังรูป แนวของเส้น Cutting Plane Line ในส่วนที่มีการหมุนกวาด โดยปกติจะมีค่าน้อยกว่า 90 ° < 90°

6. REVOLVED SECTION

7. REMOVED SECTION

* CONVENTIONAL BREAKS

ชิ้นส่วนที่มีการเขียนแสดงภาพตัดต่างจากปกติ - RIB - WEB - SPOKE

RIB

RIB A A

RIB A A

WEB

WEB A

WEB A

SPOKE

SPOKE A

จบสัปดาห์ที่ 6