ข้อมูลและสารสนเทศในการคิด อ.กัญญารัตน์ บุษบรรณ
ข้อมูลและสารสนเทศในการคิด ข้อมูลและสารสนเทศคืออะไร การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ การวิเคราะห์เชิงสถิติ การประยุกต์ใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
ข้อมูลและสารสนเทศคืออะไร ข้อมูล(data) ข้อความจริงตามเป้าหมายของการคิดที่อยู่ในรูปแตกต่างกัน เช่น ตัวเลขแสดงปริมาณต่าง ๆ ข้อความรู้จากปรากฏการณ์ในสภาพจริง หลักการหรือทฤษฎี สารสนเทศ( information) ข้อความรู้ที่ประมวลได้จากข้อมูลต่างๆที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในงานที่เกี่ยวข้อง
ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศการประหยัดพลังงาน ตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่ 25 ํC ทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศ ตั้งตู้เย็นให้ห่างจากผนังอย่างน้อย 15 cm ละลายน้ำเข็งในตู้เย็นอย่างสม่ำเสมอ ไม่นำอาหารที่ยังร้อนเข้าตู้เย็น เช็ดผมให้หมาดก่อนใช้เครื่องเป่าผม
ตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศการประหยัดพลังงาน ติดฟิล์มสะท้อนรังสีที่กระจกหน้าต่าง ปลูกต้นไม้เพื่อบังแดด ติดฉนวนกันความร้อนที่ฝ้าเพดาน เปลี่ยนหลอดไส้เป็นหลอดตะเกียบ เมื่อซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าต้องศึกษาคู่มือการใช้อย่างละเอียด
องค์ประกอบสำคัญ ที่ใช้ในการคิด ข้อมูล องค์ประกอบสำคัญ ที่ใช้ในการคิด สังคม วิชาการ ตนเอง
ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
ข้อมูลเกี่ยวกับสังคม
ข้อมูลทางวิชาการ
เชิงปริมาณ (Quantitative Data) เชิงคุณภาพ (Qualitative Data) การจำแนกข้อมูล จำแนกตามคุณลักษณะ เชิงปริมาณ (Quantitative Data) เชิงคุณภาพ (Qualitative Data)
การจำแนกข้อมูล ข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อมูลเชิงปริมาณ เพศ อาชีพ ระดับการศึกษา อายุ รายได้ ข้อมูลเชิงปริมาณ จำนวนสมาชิกในครอบครัว
ข้อมูลที่จัดเป็นหมวดหมู่ (Group Data) การจำแนกข้อมูล จำแนกตามการจัดกระทำ ข้อมูลดิบ (Raw Data) ข้อมูลที่จัดเป็นหมวดหมู่ (Group Data)
ข้อมูลดิบ 1 45 31 49 36 28 39 37
ข้อมูลดิบ 22 25 27 29 30 31 39 40 42 45 50 51 52 55 61
ข้อมูลที่จัดเป็นหมวดหมู่ วัย อายุ จำนวน วัยรุ่น 12 - 14 15 - 17 2 5 วัยผู้ใหญ่ 18 - 20 21 - 23 7 12 วัยชรา ___ ______ - - ___
ข้อมูลจากการนับ (Counting Data) ข้อมูลจากการวัด (Measurement Data) การจำแนกข้อมูล จำแนกตามวิธีจัดเก็บ ข้อมูลจากการนับ (Counting Data) ข้อมูลจากการวัด (Measurement Data)
ข้อมูลจากการนับ
ข้อมูลจากการวัด
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) การจำแนกข้อมูล จำแนกตามแหล่งที่มา ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)
การเก็บรวบรวมข้อมูล การบันทึกและทะเบียน เป็นการรายงานการเกิดของเหตุการณ์ เป็นวิธีที่สำคัญที่จะทำให้เกิดข้อมูลทุติยภูมิ การสำรวจข้อมูล เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกิดขึ้นอยู่ตามธรรมชาติหรือสภาพการณ์จากหน่วยงานหรือต้นกำเนิดของข้อมูล ทำได้โดยการสำมะโน หรือสำรวจตัวอย่าง การทดลอง เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อตอบคำถามเฉพาะเจาะจง
การรวบรวมสารสนเทศ รวบรวมข้อความจริง หรือความรู้ ไปประกอบการตัดสินใจ สารสนเทศตามวิธีการทางสถิติ สารสนเทศที่ใช้ตัวแบบทางคณิตศาสตร์ การสร้างแบบจำลอง ประมวลผลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ สารสนเทศจากเอกสารสิ่งพิมพ์หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์
การวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ
การสังเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติ ความถี่สัมพัทธ์ ร้อยละ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดการกระจาย
ความถี่สัมพัทธ์และร้อยละ ความถี่สัมพัทธ์ หมายถึง การเปรียบเทียบจำนวนข้อมูลที่สนใจให้กับจำนวนข้อมูลทั้งหมด ซึ่งอยู่ในรูปอัตราส่วนระหว่างจำนวนข้อมูลที่ต้องการหา กับจำนวนข้อมูลทั้งหมด อาจอยู่ในรูปเศษส่วนหรือทศนิยมที่ไม่เกิน 1 ร้อยละ หมายถึง การปรับฐานข้อมูลทั้งหมดเป็น 100
ตัวอย่างความถี่สัมพัทธ์และร้อยละ ในการสำรวจความเห็นเกี่ยวกับกฎหมายล้มละลายของประชากรในเขตดุสิต กรุงเทพฯ โดยใช้การสัมภาษณ์จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 2,486 สรุปได้ดังนี้ - มีผู้เห็นด้วยกับกฎหมายฉบับนี้ 1,540 คน - ไม่เห็นด้วยกับกฎหมายฉบับนี้ 625 คน - ไม่สนใจและไม่มีความรู้เกี่ยวกับกฎหมายฉบับนี้ 321 คน จงเปลี่ยนความถี่ของข้อมูลที่รวบรวมได้เป็นค่าสัมพัทธ์ และค่าร้อยละ
ตัวอย่างความถี่สัมพัทธ์และร้อยละ (ต่อ) ข้อความ จำนวน (คน) ค่าสัมพัทธ์ ค่าร้อยละ เห็นด้วยกับ กฎหมายฉบับนี้ 1,540 100 = 61.95 ไม่เห็นด้วยกับ 625 0.2514 25.14 ไม่สนใจและไม่มี ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายฉบับนี้ 321 0.1291 12.91 รวม 2,486 1.0000 100.00
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ความหมาย : การหาค่ากลางเพื่อเป็นตัวแทนของข้อมูล ประเภท : ค่ากลางที่นิยมใช้มีดังนี้ 1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean) 2. มัธยฐาน (Median) 3. ฐานนิยม (Mode)
แนวคิดในการเลือกใช้ค่ากลาง 1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่ากลางที่ใช้กับข้อมูลเชิงปริมาณเท่านั้น และเป็นวิธีที่นิยมมากที่สุด 2. ค่ามัธยฐาน ค่ากลางที่ใช้กับข้อมูลเชิงปริมาณ ส่วนมากจะนำมาใช้แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิต กรณีที่ข้อมูลไม่เหมาะสมกับการวัดด้วยค่าเฉลี่ยเลขคณิต 3. ฐานนิยม ค่ากลางที่สะท้อนให้เห็นแนวโน้มของส่วนรวมและเป็นค่ากลางชนิดเดียวที่ใช้กับข้อมูลเชิงคุณภาพได้
ตัวอย่างค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม ตัวอย่างค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม 20,000 15,000 18,000 5,000 7,000 ค่าเฉลี่ยของเงินเดือน 9,200 บาท มัธยฐานของเงินเดือน 6,000 บาท ฐานนิยมของเงินเดือน 5,000 บาท
การวัดการกระจาย แนวคิด : การใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็นค่ากลางของข้อมูลเพียงอย่างเดียว อาจทำให้การพิจารณาเพื่อการตัดสินใจบางอย่างไม่ถูกต้อง ดังนั้นเครื่องมือที่เหมาะสมที่จะใช้ควบควบคู่กับค่าเฉลี่ยเลขคณิต คือ การวัดการกระจาย
1. การวัดการกระจายสัมบูรณ์ 2. การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ประเภท : 1. การวัดการกระจายสัมบูรณ์ 2. การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมบูรณ์ แนวคิด : เป็นการวัดการกระจายของข้อมูลชุดเดียว ประเภท : 1. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 2. ความแปรปรวน (Variance)
ตัวอย่างการกระจายของข้อมูล ข้อมูลชุดที่ 1 : A , B และ C มีน้ำหนักคนละ 50 กิโลกรัม น้ำหนักเฉลี่ยของ A , B และ C คือ ข้อมูลชุดนี้ไม่มีการกระจาย ข้อมูลชุดที่ 2 : A , B และ C มีน้ำหนัก 70 , 50 และ 30 กิโลกรัม ตามลำดับ ข้อมูลชุดนี้มีการกระจายจากค่าเฉลี่ยทั้งทาง บวกและทางลบ
ตัวอย่างการวัดการกระจายสัมบูรณ์ A , B และ C มีน้ำหนัก 70 , 50 และ 30 กิโลกรัม ตาม ลำดับ จงหาค่าเฉลี่ย ความแปรปรวน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แนวคิด : ค่าเฉลี่ย เท่ากับ ความแปรปรวน เท่ากับ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ
การวัดการกระจายสัมพัทธ์ เป็นการหาอัตราส่วนระหว่างการวัดการกระจายสัมบูรณ์กับค่ากลางของข้อมูลชุด ใช้เปรียบเทียบการผันแปรข้อมูลนั้น เรียกว่าสัมประสิทธิ์ของการกระจาย ค่าที่นิยมใช้คือ สัมประสิทธิ์การแปรผัน (Coefficient of Variance : C.V.)
ตัวอย่างการใช้การวัดการกระจายในการตัดสินใจ B A ควบคุมระดับวิตามิน C ในร่างกายให้สม่ำเสมอ ปริมาณวิตามิน C ค่าเฉลี่ย:28 ML ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน:9.5ML ปริมาณวิตามิน C ค่าเฉลี่ย:20 ML ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน :5 ML C.V. ของปริมาณวิตามิน C ในน้ำมะเขือเทศของบริษัท A = C.V. ของปริมาณวิตามิน C ในน้ำมะเขือเทศของบริษัท B =
การประยุกต์ใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ ปัจจัยที่มีผลต่อทางเลือกของบุคคล คือ ข้อมูล ถ้าข้อมูลมีความชัดเจนก็จะสามารถนำมาตัดสินใจได้ง่าย และไม่ผิดพลาดแต่ในบางกรณีจำเป็นต้องมีการ เคราะห์ข้อมูลเพื่ออธิบายสถานการณ์ของปัญหาก่อนการตัดสินใจ
การตัดสินใจภายใต้ข้อมูลข่าวสารเชิงประจักษ์ EXP 17/07/11 EXP 21/07/11 89 บาท/โหล 102 บาท/โหล
B A การตัดสินใจที่ต้องมีการวิเคราะห์เปรียบเทียบ ควบคุมระดับวิตามิน C ในร่างกายให้สม่ำเสมอ ปริมาณวิตามิน C ค่าเฉลี่ย:28 ML ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน:9.5ML ปริมาณวิตามิน C ค่าเฉลี่ย:20 ML ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน :5 ML C.V. ของปริมาณวิตามิน C ในน้ำมะเขือเทศของบริษัท A = C.V. ของปริมาณวิตามิน C ในน้ำมะเขือเทศของบริษัท B =
การประยุกต์ใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ สิ่งที่ต้องคำนึงถึง ข้อมูลและสารสนเทศที่ไม่เป็นความลับเฉพาะ ต้องจัดทำให้เป็นข้อมูลและสารสนเทศสาธารณะ ข้อมูลและสารสนเทศต้องทันสมัย และสังเคราะห์สาระที่เกี่ยวข้อง หรือแสดงความเชื่อมโยงให้ง่ายต่อการนำไปใช้ สร้างเครือข่ายข้อมูลและสารสนเทศที่จะเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน
การประยุกต์ใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ จัดทำระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศที่สามารถนำมาใช้ได้อย่างรวดเร็วตลอดเวลาและทุกสถานที่ ข้อมูลและสารสนเทศที่รวบรวมต้องได้รับการตรวจสอบความน่าเชื่อถือจากเพื่อนร่วมงานหรือผู้รู้ในสาขาวิชานั้น ๆ
กรณีศึกษา การพัฒนาระบบส่วนหน้าของสำนักงานคณะ มีสารสนเทศที่ต้องการ 3 ประเด็น สารสนเทศด้านปริมาณงาน สารสนเทศด้านคุณภาพบริการ สารสนเทศด้านระบบบริการ
จบการนำเสนอ
ช่วยกันคิด ผู้จัดการบริษัทจะจัดงานเลี้ยงประจำปีของบริษัทโดยที่ประชุมมีมติให้หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการจัดหาเสื้อสำหรับใส่เข้างาน หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการกำลังตัดสินใจว่าจะใช้สีเสื้อสีอะไร จากการสอบถามพนักงาน มีร้อยละ 47 เสนอเสื้อสีฟ้า ร้อยละ20 เสนอเสื้อสี ม่วง ร้อยละ 12 เสนอเสื้อสีชมพู และร้อยละ 21 เสนอเสื้อสีขาว ถ้าท่านเป็นหัวหน้าฝ่ายสวัสดิการ ท่านจะตัดสินใจอย่างไร พร้อมอธิบายเหตุผล
ช่วยกันตัดสินใจ ชายคนหนึ่งกำลังตัดสินใจเลือกเส้นทางประจำขับรถไปทำงาน ระหว่างเส้นทางที่ใช้ทางด่วนที่ 1 กับเส้นทางที่ใช้ทางด่วนที่ 2 ในสัปดาห์แรกชายคนนี้ขับรถไปทำงานโดยใช้เส้นทางที่ใช้ทางด่วนที่ 1 และสัปดาห์สองใช้เส้นทางที่ใช้ทางด่วนที่ 2 ซึ่งเวลา (นาที) ที่ใช้ในการขับรถไปทำงานของแต่ละเส้นทางในแต่ละวัน เป็นดังนี้ เส้นทางที่ใช้ทางด่วนที่ 1 (X) 15 26 30 39 45 เส้นทางที่ใช้ทางด่วนที่ 2 (Y) 29 30 31 32 33 ชายคนนี้ควรเลือกขับรถไปทำงานโดยใช้เส้นทางใด พร้อมอธิบายเหตุผล