ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ อ.เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุป assignment ที่ 1 มีทั้งหมด สอง file เป็น slide ประกอบเสียงเปิด เสียงฟังดังๆ จะเปลี่ยนรูปเอง โดยอัตโนมัติค่ะ.
Advertisements

ฒ ผู้สูงอายุ มีปัญหาสุขภาพ ขาดผู้ดูแล Primary Care Family Medicine.
43 แฟ้ม HDC Datacenter ข้อมูลและรายงาน EPI.
1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
ทพญ. เรวดี ศรีหานู. ภาพรวมของการพัฒนา คุณภาพ ระบบบริหารความเสี่ยง องค์กรแพทย์ องค์กรพยาบาล สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันและควบคุมการ ติดเชื้อ.
ECT breast & Re-accredited plan
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
พระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
จารุพร ตามสัตย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ(APN)
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
SP Palliative เขต 3 พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข.
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ หากพูดถึงผู้สูงอายุเรานึกถึงอะไร.
จังหวัด .นครสวรรค์, กำแพงเพชร,พิจิตร, อุทัยธานี, ชัยนาท
แนวคิดพื้นฐานทางระบาดวิทยา
ณ ห้องประชุม 6/5 รพ.นครพิงค์
การเบิกจ่าย ค่าชดเชยการรักษา (E-Claim palliative)
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
Service Plan สาขาโรคมะเร็ง.
Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นายแพทย์ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 2
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
แผนงาน/โครงการ สร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
แนวคิด เป้าหมาย และแนวทางการขับเคลื่อนพัฒนาการดำเนินงานมะเร็ง
ถอดรหัสตัวชี้วัด Service plan สาขา Palliative care
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7
บริการ/ทีม: ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
เป็นฐานสำคัญขององค์กร
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
การบริหารและขับเคลื่อน
ณ โรงแรมแกรนด์ไชน่า กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ มกราคม 2559
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางเก็บตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2562
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง ปีการศึกษา ๒๕๖๒
การจัดตั้งหน่วยทะเบียนมะเร็ง และการควบคุมคุณภาพ
Public Health Nursing/Community Health Nursing
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
โปรแกรม District Health Data Center เพื่อการบริหารจัดการข้อมูล 43 แฟ้ม ระดับอำเภอ และ CUP ( DHDC ) 25 – 26 กรกฎาคม 2561 ห้องประชุม สำนักงานสาธาณสุขจังหวัดลำพูน.
การบริหารและควบคุมกำกับสารสนเทศสุขภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
การวางแผนการจำหน่ายผู้ป่วยใน (IPD)แบบประคับประคอง จังหวัดสกลนคร Discharge planning in Palliative care รายการ Assessment Planning/ผู้บันทึก D: Disease.
โรงพยาบาลหนองบัวลำภู
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
Big data management for health Care Utilization in community / public Health Mr.Prapunchock Sanachoo (R.N, M.N.S) 12 July 2019.
การตรวจราชการและนิเทศงาน
ประเด็นติดตาม Palliative care.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ อ.เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ การประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ต้านภัยมะเร็งเต้านม วันที่ 22 สิงหาคม 2559 ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ อ.เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

แนวคิด เป้าหมาย และแนวทางการขับเคลื่อนพัฒนาการดำเนินงานมะเร็ง

ลดระยะเวลารอคอย เพิ่มการเข้าถึงบริการ การบริการสุขภาพได้มาตรฐาน เป้าหมาย ลดอัตราตาย ลดอัตราป่วย ลดระยะเวลารอคอย เพิ่มการเข้าถึงบริการ การบริการสุขภาพได้มาตรฐาน

คัดกรอง ค้นหา มะเร็งระยะเริ่มแรก 2 Screening and Early Detection สร้างเสริม สุขภาพ 1 Primary Prevention แสดงการดูแล ทุกช่วงอายุ ดูแลแบบประคับประคอง 5 Palliative Care รักษาโรคมะเร็ง 4 Treatment วินิจฉัยโรคมะเร็ง 3 Diagnosis

กำหนดยุทธศาสตร์การดำเนินงาน Primary Prevention Screening and Early Detection Cancer Diagnosis Treatment Palliative Care ยุทธ_1 ยุทธ_7 Cancer Research ยุทธ_5 ยุทธ_2 Cancer Informatics ยุทธ_6 ยุทธ_3 ยุทธ_4

ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคมะเร็ง ที่สามารถป้องกันได้และคุ้มค่า การป้องกันและการรณรงค์เพื่อลดความเสี่ยง (Primary Prevention) ปัจจัยความเสี่ยง ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคมะเร็ง ที่สามารถป้องกันได้และคุ้มค่า การ ออกกำลังกาย การป้องกันมะเร็ง จากการประกอบ อาชีพและ สิ่งแวดล้อม การส่งเสริมการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การบริโภคยาสูบ โรคพยาธิใบไม้ตับ ปัจจัยความเสี่ยงที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคมะเร็งที่สามารถป้องกันได้และคุ้มค่า การบริโภคยาสูบ การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การติดเชื้อไวรัส (ไวรัสตับอักเสบ (HBV) และ Human Papilloma Virus (HPV) โรคพยาธิใบไม้ตับ การส่งเสริมการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี การออกกำลังกาย การป้องกันมะเร็งจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม การติดเชื้อไวรัส

กำหนดตัวชี้วัด เป็น 2 ระดับ Service Plan สาขาโรคมะเร็ง กำหนดตัวชี้วัด เป็น 2 ระดับ ระดับที่ 1 (Outcome Indicator) ตัวชี้วัด ระดับเป้าประสงค์ 2560 ระดับที่ 2 (Process Indicator) ตัวชี้วัด ระดับยุทธศาสตร์

ดูประสิทธิผลของการคัดกรอง ระดับเป้าประสงค์ ลำดับ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด 1 ลดอัตราตาย อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ 2 ลดอัตราป่วย สัดส่วนของผู้ป่วย มะเร็งเต้านม และ มะเร็งปากมดลูก ระยะที่ 1 และ 2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 3 ลดระยะเวลาการรอคอย ร้อยละของผู้ป่วยที่มีระยะเวลาการรอคอยการรักษาด้วยรังสี ≤ 6 สัปดาห์ 4 สถานบริการสุขภาพได้ มาตรฐาน ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรฐานของสถานบริการสุขภาพในแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขามะเร็ง แต่ละระดับของโรงพยาบาล เป้าหมาย คือ ดูประสิทธิผลของการคัดกรอง

ยุทธศาสตร์ที่ 1 Primary Prevention การป้องกันและการรณรงค์เพื่อลดความเสี่ยง จัดกิจกรรมตามแผน ร้อยละ 80

การตรวจคัดกรอง และ วินิจฉัยมะเร็งระยะต้น ยุทธศาสตร์ที่ 2 Screening and Early Detection การตรวจคัดกรอง และ วินิจฉัยมะเร็งระยะต้น มะเร็งปากมดลูก 30-60 ปี ร้อยละ 80 มะเร็งเต้านม SBE 30-70 ปีร้อยละ 80 CBE 40-70 ปีร้อยละ 80

การตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็ง ยุทธศาสตร์ที่ 3 Cancer Diagnosis การตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็ง พยาธิแพทย์ Date_Obtained Date_Report 2 สัปดาห์ (จำนวน 14 วัน)

การดูแลรักษาโรคมะเร็ง ยุทธศาสตร์ที่ 4 Cancer Treatment การดูแลรักษาโรคมะเร็ง รักษาโรคมะเร็ง ผ่าตัด ภายใน 4 wks. เคมี ภายใน 6 wks. รังสี ภายใน 6 wks.

การวินิจฉัยโรคมะเร็ง (Date.......) 2 weeks รพ. .... การรักษาโรคมะเร็ง ผ่าตัด (Date.......) 4 weeks รพ. .... 6 weeks การรักษาโรคมะเร็ง เคมีบำบัด (Date.......) รพ. .... 6 weeks การรักษาโรคมะเร็ง รังสีรักษา (Date.......) รพ. .... Service Plan มอง ผู้ป่วย เป็นคนๆ เดียว (ผู้ป่วยเป็นหลัก...Patient focus) การวินิจฉัยและรักษา เป็น บริการที่ผู้ให้บริการจะไม่แยกส่วนของหน่วยที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ มองภาพเดียวกัน คือ .....ผู้ป่วยพึงได้เข้าถึงบริการภายในเวลาที่ควรจะเป็น เพื่อลดความเสี่ยงต่อการลุกลามของโรคจากการรอคอย

การรักษาเพื่อประคับประคองผู้ป่วย ยุทธศาสตร์ที่ 5 Palliative Care การรักษาเพื่อประคับประคองผู้ป่วย ร้อยละของผู้ป่วยระยะท้ายที่ได้ รับการดูแลแบบประคับประคอง 2. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการจัดการระบบสนับ สนุนการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย ต้องมีแนวปฏิบัติ การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (ระยะท้าย) Home Care Unit Pain Clinic Strong Opioid Medication Palliative Care Unit ศูนย์มิตรภาพบำบัด ผู้ป่วยระยะท้าย หมายถึง ผู้ป่วยมะเร็งที่แพทย์ให้การวินิจฉัยเป็นระยะที่ 4 โรคมะเร็งมีการลุกลามไปอวัยวะสำคัญ การรักษาเป็นไปเพื่อการบรรเทาอาการปวดและอาการทุกข์ทรมาน และ การประเมิน PPS ≤ 30

Hospital Based Cancer Registry Population Based Cancer Registry ยุทธศาสตร์ที่ 6 Cancer Informatics Hospital Based Cancer Registry Population Based Cancer Registry

การวิจัยด้านโรคมะเร็ง ยุทธศาสตร์ที่ 7 Cancer Research การวิจัยด้านโรคมะเร็ง 1. มี Research Center อย่างน้อย 1 แห่ง/1 เขตบริการสุขภาพ (ปี 2560) 2. มีการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคมะเร็ง ในกลุ่ม ดังต่อไปนี้ Basic Science /Apply Research, Epidemiology Research, Clinical Research, Complementary and Alternative Medicine (CAM) โดย 2.1 มีงานวิจัยอย่างน้อย 1 เรื่อง ต่อ 1 เขตบริการ ภายในปี 2558 2.2 มีงานวิจัยอย่างน้อย 1 เรื่องต่อ 1 จังหวัด ภายในปี 2560

สวัสดี

โปรแกรมที่ใช้ในสถานบริการ สธ. ปัจจุบัน - JHCIS - HOSxp HOSos ฯลฯ

นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี งบ 2๕๕๙ การประเมินผลงาน นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี งบ 2๕๕๙ ให้ยึดข้อมูล จาก HDC เป็นหลักในการประเมินผล งานทุกงาน - การประเมินผลงานเปรียบเทียบกับเป้าหมาย - การจัดสรรงบ ของ สปสช.

สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่งทุกระดับ การประเมินผลงาน สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่งทุกระดับ - จัดบันทึกข้อมูลงานให้ถูกต้องครบถ้วนและเป็น ปัจจุบัน - ส่งข้อมูลรายงานให้ทันตามระยะเวลาที่กำหนด *** ๑. ตรวจสอบข้อมูลให้ถูกต้องครบถ้วน ทั้งก่อน และหลังการบันทึกข้อมูล ๒. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลรายงาน ก่อนส่งให้จังหวัด