งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารและขับเคลื่อน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารและขับเคลื่อน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารและขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) จังหวัดกาฬสินธุ์ นายแพทย์พีระ อารีรัตน์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

2 3 กรอบนำเสนอ Roadmap การจัดทำแผนปฏิบัติการ
เพื่อรองรับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี(ด้านสาธารณสุข) รายละเอียดการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี(ด้านสาธารณสุข)สู่การปฏิบัติ เน้น 14 ประเด็น 29 ตัวชี้วัด 3 ทุนและการขับเคลื่อน

3 Roadmap การพัฒนายุทธศาสตร์ ปี 2560
3 1 18 ก.ย.-10 ต.ค. 2 -10 ต.ค. 12 ต.ค. ทบทวน วิเคราะห์นโยบายยุทธศาสตร์ชาติฯ KPI ตรวจราชการ PA และผลงาน ปี 2559 จัดทำยุทธศาสตร์สุขภาพ Master Plan ปี 2560 ลงนามคำรับรอง การปฏิบัติราชการ 4 15 ก.ย.-30 ก.ย.60 12-20 ต.ค. 12-28 ต.ค. ถ่ายทอด/ส่งมอบ ยุทธศาสตร์สุขภาพ Master Plan ระดับ สสจ. ถ่ายทอด/ส่งมอบ ยุทธศาสตร์สุขภาพ Master Plan ระดับ คปสอ. สรุปผลการประเมิน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปบทเรียน รายงานประจำปี 9 5 6 จัดทำแผนปฏิบัติการ กลุ่มงาน สสจ. จัดทำยุทธศาสตร์สุขภาพ และแผนปฏิบัติการ ระดับ คปสอ./รพ./รพ.สต. รอบ 1 มี.ค.60 รอบ 2 ก.ค.60 บูรณาการแผน/งบ จังหวัด ท้องถิ่น กองทุนสุขภาพ 8 ควบคุม ติดตาม นิเทศงาน ประเมินผล Monitor Supervision Evaluation Survey เสนอวิพากษ์ อนุมัติ แผนปฏิบัติการ ระดับ คปสอ./รพ./รพ.สต. เสนอวิพากษ์ อนุมัติ แผนปฏิบัติการ กลุ่มงาน สสจ. 21 ต.ค. 28 ต.ค. 1 พ.ย.-31 ส.ค เดือนที่ 3/6/9/12 ดำเนินงานตามยุทธศาสตร์/ แผนปฏิบัติการ 7

4 ยุทธศาสตร์ สุขภาพ ที่มีชีวิต ภายใต้การมี ส่วนร่วม ของทุกระดับ
13 – 17 สิงหาคม 2559 ร่างยุทธศาสตร์ ปี 2560 ทบทวน/วิเคราะห์นโยบาย แผน 20 ปี 18 – 21 สิงหาคม 2559 ประชาพิจารณ์ แผนและตัวชี้วัด กลุ่มงาน สสจ.กาฬสินธุ์ ยุทธศาสตร์ สุขภาพ ที่มีชีวิต ภายใต้การมี ส่วนร่วม ของทุกระดับ 23 สิงหาคม – 15 กันยายน 2559 ร่วมกับทีม คปสอ./รพสต. ปรับ ยุทธศาสตร์ จัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ 2 – 3 ตุลาคม 2559 ประชาพิจารณ์ แผน + ตัวชี้วัด กำหนด KPI พันธกิจ 4 – 5 ตุลาคม 2559 สสอ. ผอ.รพ. รับฟัง เสอแนะ คำรับรอง KPI 12 ตุลาคม 2559 ลงนามคำรับรองฯ PA

5 Governa nce Excellenc e
แผนพัฒนาสาธารณสุข จังหวัดกาฬสินธุ์ ปี 2560 เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี(ด้านสาธารณสุข) วิสัยทัศน์ : กาฬสินธุ์เป็นต้นแบบเมืองแห่ง สุขภาวะ พันธกิจ 1. การบูรณาการความร่วมมือพัฒนา ระบบสุขภาพสุขภาพชุมชนเข้มแข็ง 2. การพัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพให้มีมาตรฐานทุกระดับ 3. การพัฒนาระบบบริหารให้มีประสิทธิภาพและเท่าทันการเปลี่ยนแปลง ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. การสร้างความ เข้มแข็งระบบเฝ้าระวัง และการจัดการลดโรค และภัยทางสุขภาพ 2. พัฒนาเครือข่าย บริการสุขภาพที่ได้ มาตรฐานและ ตอบสนองปัญหาของ พื้นที่ 3.การสร้างความ เข้มแข็งระบบบริหาร จัดการ ให้มี ประสิทธิภาพ 4. การสร้างระบบ สุขภาพชุมชน เข้มแข็งเพื่อสุข ภาวะชาวกาฬสินธุ์ 1. ประชาชน ชาว กาฬสินธุ์ ได้รับการ ส่งเสริม สุขภาพทุก กลุ่มวัยลด โรคและภัย สุขภาพ 2. เครือข่าย บริการสุขภาพ ทุกระดับมี คุณภาพ มาตรฐาน ยึด หลักการทำงาน แบบบูรณการ โดยใช้ชุมชน เป็นฐาน ประชาชนเป็น ศูนย์กลาง 3. บุคลากรด้าน สาธารณสุขทั้ง ระบบมี สมรรถนะสูง มีความสุขและ วัฒนธรรมและ ค่านิยมร่วมที่ เข้มแข็ง 4. ระบบ บริหาร จัดการของ หน่วยงาน สาธารณสุข มีธรรมา ภิ บาล มี ความเป็น เลิศ ทันสมัย 5. หมู่บ้าน ชุมชนของ จังหวัด กาฬสินธุ์เป็น ชุมชนแห่ง ความสุข มี วัฒนธรรม สุขภาพ และวิถีสุข ภาวะที่ เข้มแข็งและ ยั่งยืน เป้า ประสง ค์ PP&P Excellence Service Excellenc e People Excellenc e Governa nce Excellenc e Commun ity Excellenc e

6 แผนงานที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ทุกกลุ่มวัย
แผนชาติ 20 ปี /ตรวจราชการ2560และ PA 2560 ยุทธศาสตร์สาธารณสุข จังหวัดกาฬสินธุ์ 2560 แผนงานที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ทุกกลุ่มวัย 1. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 2. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี 3. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี 4. ร้อยละของตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ แผนงานที่ 1 บูรณาการการส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของตำบลที่มีระดับความสำเร็จในการสร้างความเข้มแข็งในการส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัยแบบบูรณาการ ระดับ 5 แผนงานที่ 2 การลดโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาของพื้นที่ ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการลดโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ ตัวชี้วัดที่ 2.1 ระดับความสำเร็จของอำเภอที่มีการดำเนินงานลดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ตัวชี้วัดที่ 2.2 ระดับความสำเร็จของอำเภอที่ดำเนินงานลดปัญหาโรคโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง 5. ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ตับ (โครงการพระราชดาริ) 6. อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ 7. อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน 8. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ แผนงานที่ 2 การป้องกันควบคุมโรค 1. Promotion Prevention& Consumer Protection Excellence 9. ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย 10. ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด แผนงานที่ 3 การพัฒนาด้านอาหารปลอดภัย และ คุ้มครองผู้บริโภค ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของตำบลที่มีระดับความสำเร็จของการดำเนินงานพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ แผนงานที่ 3 ควบคุมปัจจัยเสี่ยง คุ้มครองผู้บริโภค แผนงานที่ 4 การดูแลสิ่งแวดล้อม 11. ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital (ตัวชี้วัดแผน 20 ปี) บริหารจัดการมลพิษสิ่งแวดล้อมและคุ้มครองสุขภาพประชาชนจากมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยง (Hot Zone) แผนงานที่ 4 การจัดการด้านสิ่งสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดที่ 4 ระดับความสำเร็จในการจัดการขยะ มลพิษสิ่งแวดล้อมและคุ้มครองสุขภาพประชาชนจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ระดับ 5

7 แผนชาติ 20 ปี /ตรวจราชการ2560และ PA 2560
ยุทธศาสตร์สาธารณสุข จังหวัดกาฬสินธุ์ 2560 12. ร้อยละของพื้นที่ที่มีคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster) เป้าประสงค์ 2. เครือข่ายบริการสุขภาพทุกระดับมีคุณภาพมาตรฐาน ยึดหลักการทำงานแบบบูรณการโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ประชาชนเป็นศูนย์กลาง แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ ตัวชี้วัดที่ 6.3 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานทีมหมอครอบครัว แผนงานที่ 5 การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ 13. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 14. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ 15. ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด เคมีบาบัด รังสีรักษา ของมะเร็ง 5 อันดับแรก 16. อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ 17. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ 18. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr 19. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) 20. ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล แผนงานที่ 5 การพัฒนาคุณภาพบริการในการลดโรคและภัยสุขภาพ ตัวชี้วัดที่ 6 ระดับความสำเร็จของการพัฒนากลไกการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน ในการจัดระบบบริการของเครือข่ายบริการสุขภาพทุกระดับเพื่อตอบสนองกลุ่มวัยและปัญหาของพื้นที่ 2. Service Excellence แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ แผนงานที่8 การพัฒนาคุณภาพหน่วยงานบริการด้านสุขภาพ แผนงานที่ 7 ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ ตัวชี้วัดที่ 6.2 ร้อยละของสถานบริการระดับ รพ.สต./ศสช./PCUที่มีสุขศาลาผ่านเกณฑ์ของการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานสุขภาพ 21. ร้อยละของโรงพยาบาล F2 ขึ้นไป ที่มีระบบ ECS คุณภาพ 22. ร้อยละของหน่วยบริการที่ผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) 23. ร้อยละของ รพ.สต. ในแต่ละอาเภอที่ผ่านเกณฑ์ระดับการพัฒนาคุณภาพ

8 การพัฒนาระบบกำลังคน ด้านสุขภาพ
ยุทธศาสตร์สาธารณสุข จังหวัดกาฬสินธุ์ 2560 แผนชาติ 20 ปี /ตรวจราชการ2560และ PA 2560 เป้าประสงค์ 3. บุคลากรด้านสาธารณสุขทั้งระบบมีสมรรถนะสูง มีความสุขและวัฒนธรรมและค่านิยมร่วมที่เข้มแข็ง แผนงานที่ 7 การพัฒนาระบบกาลังคน ด้านสุขภาพ ตัวชี้วัดที่ 7 ระดับความสำเร็จของหน่วยงานในการบริหารจัดการและพัฒนากำลังคน ส่งเสริมการนำค่านิยม MOPH และดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happy Work Life Index)ไปใช้อย่างเป็นรูปธรรม 24. ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happy Work Life Index) และMOPH ไปใช้ 3. People Excellence แผนงานที่ 9 การพัฒนาระบบกำลังคน ด้านสุขภาพ

9 Governance Excellence
แผนชาติ 20 ปี /ตรวจราชการ2560และ PA 2560 ยุทธศาสตร์สาธารณสุข จังหวัดกาฬสินธุ์ 2560 แผนงานที่ 10 ระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบริการจัดการภาครัฐ 25. ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA เป้าประสงค์ 4. ระบบบริหารจัดการของหน่วยงานสาธารณสุขมีธรรมาภิบาล มีความเป็นเลิศ ทันสมัย แผนงานที่ 8 การพัฒนาองค์กรแห่งธรรมาภิบาล ตัวชี้วัดที่ 8.1 ระดับความสำเร็จของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA แผนงานที่ 11 ระบบข้อมูลสารสนเทศ ด้านสุขภาพ 26. ร้อยละของจังหวัดและหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูล แผนงานที่ 10 การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ ตัวชี้วัดที่ 8.3 ระดับความสำเร็จของหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูล 4. Governance Excellence 27. ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน แผนงานที่ 12 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ ดำเนินงานตามแผนงานตามพันธกิจ แผนงานที่ 13 การพัฒนางานวิจัยและ องค์ความรู้ด้านสุขภาพ 28. ร้อยละผลงานวิจัย R2R ด้านสุขภาพที่เผยแพร่ให้หน่วยงานต่างๆนาไปใช้ประโยชน์ แผนงานที่ 11 การใช้ประโยชน์งานวิจัยและองค์ความรู้ด้านสุขภาพ ตัวชี้วัดที่ 8.4 ระดับความสำเร็จการจัดการองค์ความรู้ของหน่วยบริการและภาคีเครือข่าย แผนงานที่ 14 ปรับโครงสร้างและการพัฒนากฎหมายสุขภาพ 29. ร้อยละของกฎหมายที่ควรปรับปรุงได้รับการแก้ไขและมีการบังคับใช้ บทบาทระดับส่วนกลาง

10 แผนพัฒนาชุมชนเข้มแข็งพึ่งตนเอง
5. Community Excellence 1 แผน 1 KPIs (เพิ่มเป็นกลไก การขับเคลื่อนลงสู่พื้นที่จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน) แผนชาติ 20 ปี /ตรวจราชการ2560และ PA 2560 ยุทธศาสตร์สาธารณสุข จังหวัดกาฬสินธุ์ 2560 เป้าประสงค์ 5. Community Excellence 5. หมู่บ้าน ชุมชนของจังหวัดกาฬสินธุ์เป็นชุมชนแห่งความสุข มีวัฒนธรรมสุขภาพ และวิถีสุขภาวะที่เข้มแข็งและยั่งยืน แผนงานที่ 12 การพัฒนาชุมชนเข้มแข็งพึ่งตนเองด้านสุขภาพ ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละของหมู่บ้านต้นแบบ ที่มีระดับความสำเร็จในการจัดการสุขภาพชุมชนเข้มแข็งให้ประชาชนดูแลสุขภาพตนเอง ตามแนวทางหมู่บ้าน 3 ดี วิถีกาฬสินธุ์ ร้อยละของครอบครัวที่มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด (ตรวจราชการ 60) 5. Community Excellence แผนพัฒนาชุมชนเข้มแข็งพึ่งตนเอง

11 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ที่ได้เตรียมการและดำเนินการไปแล้ว

12 การบริหารทุนงบประมาณขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
NUC งบดำเนินการ สป. การบริหาร 5 Excellence กลุ่มงาน สสจ.กาฬสินธุ์ UC งบการบริหารและแผน คปสอ. 6 ล้านบาท PPA สปสช. การบริหารทุนงบประมาณขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ งบบูรณาการจังหวัด 3 ดี 10 ล้านบาท งบอาหารปลอดภัย 5 ล้านบาท UC กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น สนับสนุน P&P ในพื้นที่ 32 ล้านบาท

13 Service Excellence แผน Service Plan ปี 2560

14 -จัดโครงสร้างคณะทำงาน
-ทำแผนงานภาพรวมและรายสาขาโดยใช้ 6BB Plus Model เชื่อมโยงหมอครอบครัวในระบบปฐมภูมิ -การจัดทำแผนแม่บท 5ปี (พ.ศ / ) -Basic Facilities Service Delivery -จัดทำแผนพัฒนาบุคลากร/แผนยกระดับพัฒนาสถานบริการ

15 -กำหนดสาขาสูติกรรมที่เป็นปัญหา ในแผนยุทธศาสตร์จังหวัด
-กำหนด Best practice รายสาขา -ประชุมเชิงปฏิบัติการ Service Plan Rally -สาขาหัวใจได้ร่วมกระบวนการรับรองคุณภาพมาตรฐาน ของสรพ. (Provincial Healthcare network certification)

16 การประชุมจัดทำนโยบายและกำหนดตัวชี้วัดงานทรัพยากรบุคคล
People Excellence การนำค่านิยม MOPH และดัชนีความสุข มาใช้บริหารจัดการและพัฒนากำลังคนอย่างเป็นรูปธรรม การประชุมจัดทำนโยบายและกำหนดตัวชี้วัดงานทรัพยากรบุคคล การประชุมชี้แจงนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับผู้บริหารและระดับผู้ปฏิบัติงาน การประชุมเตรียมการซักซ้อมแผนและแนวทางการบริหารงานทรัพยากรบุคคลและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ระหว่างวันที่ พ.ย. 59

17 เป็นเครื่องมือ กิจกรรมสำคัญ ให้ครอบครัว ประชาชน ดูแลสุขภาพตนเองได้
Community Excellence จัดค่ายสุขภาพ ตำบล หมู่บ้าน 3 ดี วิถีกาฬสินธุ์ “กาฬสินธุ์ไร้พุง ไร้โรค ด้วยวิถีธรรม” เป็นเครื่องมือ กิจกรรมสำคัญ ให้ครอบครัว ประชาชน ดูแลสุขภาพตนเองได้ เครื่องมือ กลไก ผลที่คาดหวัง ตำบล/ชุมชน วิถีสุขภาพ วิถีสุขภาวะ พึ่งตนเอง ที่ยั่งยืน บั้ดดี้ อสม. 1 คน ต่อ กลุ่มเสี่ยง 2 คน อสม. 18,536 : กลุ่มเสี่ยง 32,065 สุขภาพดี วิถีธรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยยา 9 เม็ด ระบบพี่เลี้ยง โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข วิทยากรอำเภอ / รพ.สต. 307 คน ลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพทั้งของหน่วบริการ และของประชาชน

18 ทุติยภูมิ ตติยภูมิ ปฐมภูมิ คนดี สุขภาพดี รายได้ดี
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี(ด้านสาธารณสุข) สู่การปฏิบัติ ด้วยกลไกกาฬสินธุ์ 3 ดี DHS กาฬสินธุ์ คนดี สุขภาพดี รายได้ดี DHS Service Plan ตำบลจัดการสุขภาพกลุ่มวัยแบบบูรณาการ การสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ลดโรคและภัยสุขภาพDM,HT,OV&CCA โรงเรียน 3 ดี โรงเรียนผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ทุติยภูมิ คนดี Service Plan การแพทย์ปฐมภูมิ หมอครอบครัว G2 G1 สุขภาพดี ตติยภูมิ ปฐมภูมิ รายได้ดี GOAL 5 ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ระบบการเงินการคลัง R&D KM ระบบข้อมูลสารสนเทศ การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนเข้มแข็ง ให้ครอบครัว บุคคล ดูแลสุขภาพตนเองได้ ธรรมาภิบาล / องค์กรคุณธรรม ITA G3 G4

19 กลไกโครงการกาฬสินธุ์คนดี สุขภาพดี รายได้ดี และระบบสุขภาพอำเภอ (DHS)
เป็นกลไกหลัก ในการบูรณาการยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี(ด้านสาธารณสุข) สู่พื้นที่จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน ครอบครัว ระดับจังหวัด ระดับพื้นที่ ฝ่ายเลขานุการจังหวัด สื่อสาร ส่งมอบ นายอำเภอ ส่วนราชการและเครือข่าย สร้างทีมบูรณาการจังหวัด กำหนดเป้าหมาย ตัวชี้วัดร่วมกัน ตำบล/ชุมชน บูรณาการแผนฯ งาน คน งบฯ สร้างวาระ กติกาชุมชน สู่การพัฒนาเชิงพื้นที่ ผู้ว่าฯ นำทีม ถ่ายทอดสู่นายอำเภอ และส่วนราชการ ภาคี เครือข่าย อำเภอ สู่การประกาศวาระจังหวัด ฝ่ายเลขานุการอำเภอ สื่อสาร ส่งมอบ อปท. กำนัน ผญบ. อสม. องค์กรชุมชน ทีมบูรณาการตำบล อำเภอ จังหวัด ประเมิน เชิดชูเกียรติ ยกระดับ ขยายผล

20 กรอบการติดตามประเมินผล ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
รูปแบบการบริหารจัดการ คปสอ. - การจัดโครงสร้างบทบาท DHSและภายใน - การบริหารและพัฒนากำลังคน - แผนและงบประมาณที่ตอบสนอง - การสื่อสารถ่ายทอด และกลไกขับเคลื่อน - ระบบกำกับติดตาม ประเมินผล นโยบาย/ปัญหาสำคัญ ของ จว.ได้แก่OV/CCA,DM/HT/Stroke,TB ,Food safty, ความก้าวหน้าแผนและการเบิกจ่ายงบฯ การรับฟัง ปัญหาอุปสรรค เสนอแนะและแก้ไข การบริหารจัดการ การขับเคลื่อนและผลตามนโยบายรมต./ตรวจราชการ/ยุทธศาสตร์ ความก้าวหน้าแผนและงบประมาณ แนะนำแก้ไขปัญหา Monitoring การกำกับติดตาม นิเทศงาน โดย สสจ.โซน ๑๘ คปสอ. รอบที่ ๑ กพ.๖๐ / รอบที่ ๒ กค.๖๐ การเปลี่ยนแปลง กระบวนและผลยุทธศาสตร์สุขภาพ เทียบเคียงเป้าหมายตัวชี้วัดคำรับรอง ค้นหา Best practice ต้นแบบสุขภาวะ เชิงประเด็นที่สำคัญของจังหวัดและ Area based ระดับการบริหารเชิงยุทธศาสตร์เพื่อการเปลี่ยนแปลงมุ่งสู่ Goal ผลงานตาม KPI ยุทธศาสตร์สุขภาพ วิเคราะห์เปรียบเทียบผลตามเป้าหมายและระหว่างอำเภอ Best Practice ราย Goal วิจัยประเมินผลโครงการ Area based Evaluation การประเมินผล โดย SAT/นักวิจัย ๑๘ คปสอ. / ๑ รพ.สต. /๑ สุขศาลา รอบที่ ๑ ทีมอำเภอประเมินตนเอง (มีค.๖๐) รอบที่ ๒ ประเมินโดยทีมจังหวัด (สค..๖๐) Audit การรับรอง/ตรวจสอบ HA/ PCA/ Has/ ER/ SRRT รร.ส่งเสริมสุขภาพ/ ศูนย์เด็กเล็ก / ตรวจสอบและควบคุมภายใน / ระบบฐานข้อมูล HDC /43 แฟ้ม/ QOF และอื่นๆ ขอจากทุกกลุ่มงาน การรับรอง /มาตรฐาน การตรวจสอบคุณภาพ โดย ทีมเฉพาะกิจ ตามห้วงรอบการประเมินของแต่ละงาน

21 เปลี่ยนโทมนัส เป็นพลัง
ชาวกาฬสินธุ์ รวมพลัง เปลี่ยนโทมนัส เป็นพลัง เพื่อ ระบบสุขภาพยั่งยืน เจ้าหน้าที่มีความสุข ประชาชนสุขภาพดี


ดาวน์โหลด ppt การบริหารและขับเคลื่อน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google