ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKristin O’Neal’ ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560 เขตสุขภาพที่ 12 ปีงบประมาณ 2560 ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2560
2
ประเด็นการตรวจราชการ
สรุปผลการตรวจราชการ ประเด็นการตรวจราชการ เป้าหมาย พัทลุง สงขลา ตรัง ยะลา ปัตตานี นรา สตูล อัตราตายของผู้ป่วย STROKE (<ร้อยละ 7) < 7% x / อัตราการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง < 130 อัตราตายทารกแรกเกิดอายุต่ำกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน < 4 : พัน รพ.ระดับ A S M F ดำเนินการได้ตามมาตรการดูแลแบบประคับประคอง อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ STEMI อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ < 28 : แสน รพ.F2 ขึ้นไป ให้Fibrionolytic Drug) ในผู้ป่วยชนิด STEMI 100% ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาการผ่าตัดรักษา ใน 4 สัปดาห์ > 80% ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาโดยเคมีบำบัดใน 6 สับดาห์ ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาโดยรังสีบำบัดใน 6 สับดาห์ refer ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีการลดลงของeGFR<4l/min/1.73m2/yr > 65% ร้อยละของผู้ป่วย (Blinding Cataract) ผ่าตัดภายใน 30 วัน ร้อยละผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองสายตา > 75% จำนวนผู้บริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตายในแต่ละ รพ. >1 ราย จำนวนผู้บริจาคดวงตาจากผู้เสียชีวิตในแต่ละ รพ. A และ S> > 5 ราย อัตราตายจากการบาดเจ็บ (Trauma) (PS Score > 0.75) < 1%
4
Service plan สาขาโรคไม่ติดต่อ (NCD)
ตัวชี้วัด 1.ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ (DM ≥ ร้อยละ 40 , HT ≥ ร้อยละ 50) 2. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด CVD Risk ≥ ร้อยละ 80
5
ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานควบคุมน้ำตาลได้ตามค่าเป้าหมายที่เหมาะสม ปี เขตสุขภาพที่ 12 จำแนกรายจังหวัด (1 ต.ค. 59 –21 ส.ค. 60) แหล่งข้อมูล : Health Data Center (HDC)
6
ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ตามค่าเป้าหมาย ที่เหมาะสม ปี 2560 เขตสุขภาพที่ 12 จำแนกรายจังหวัด (1 ต.ค. 59 –21 ส.ค. 60) แหล่งข้อมูล : Health Data Center (HDC)
7
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงอายุ 35 – 60 ปี ได้รับการประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด เขตสุขภาพที่ 12จำแนกรายจังหวัด ปีงบประมาณ 2560 (1 ต.ค. 59 –21 ส.ค. 60) แหล่งข้อมูล : Health Data Center (HDC)
8
ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ ผู้ป่วย DM และ HT ยังควบคุมสภาวะของโรคไม่ได้
ข้อมูล การเชื่อมโยงรหัส lab ยังไม่ถูกต้อง ทำให้ข้อมูลไม่ถูกดึงเข้าสู่ระบบ HDC - มีการลงทะเบียนผู้ป่วยรายใหม่ซ้ำซ้อนทำให้จำนวนผู้ป่วยสูงกว่าความเป็นจริง - ผู้ป่วยที่ยังไม่ถึงรอบเจาะ /แพทย์ไม่ได้สั่งเจาะ HbA1C ถูกนับเป็นผู้ป่วยที่คุมไม่ได้ มีค่า BP ครบ 2 ครั้ง มีความครอบคลุม ร้อยละ 38.83 มีผล HbA1C มีความครอบคลุม ร้อยละ 41.52 2. ผู้รับผิดชอบงาน ขาดความเข้าใจในการบันทึกและไม่สามารถเข้าถึงข้อมูล HDC 3. ผู้ป่วย ขาดกินยาไม่ถูกต้องและขาดความตระหนัก 1. ข้อมูล พัฒนาระบบข้อมูล และมี Data Cleaning ให้ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ควรเพิ่มความครอบคลุมของการเจาะ HbA1C และ วัด BP ให้ครบ 2 ครั้ง ควรมีช่องทางให้ผู้รับผิดชอบงาน สามารถเข้าถึงข้อมูล ควรมีการชี้แจงและกำกับติดตาม การบันทึกข้อมูลโดย System Manager ควรวิเคราะห์สาเหตุเพื่อปรับการดูแล รักษาในผู้ป่วยขาดนัด และมีกลุ่ม/ชมรม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างความตระหนักให้แก่ผู้ป่วย
9
อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
STROKE อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง เกณฑ์ < 7
10
STROKE ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ ผู้ป่วยเข้าถึงบริการช้า
-นราธิวาสอัตราผู้ป่วยให้ยาระบายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำ ใน 4.5 ชั่วโมง หลังเกิดอาการ= (62/570ราย) ผู้ป่วยขาดความเข้าใจอาการโรค และเชื่อหมอบ้านมากกว่า - พัทลุง to RT –PA < 60 นาที =18.75%(3/16) Door to RT –PA < 60 นาที =18.75%(3/16) -ข้อจำกัดด้านสิทธิการักษา ส่งผู้ป่วยส่งสัย STROKE ไป รพชทั้งที่ไม่มี เครื่อง CT -ทบทวน Key Process พบว่า ผู้ป่วยที่มาล่าช้ายังมีความเชื่อในหมอบ้าน ระยะทางที่มาถึงรพ.ไกล แม้ว่ามีการขยายไปสู่ระดับ รพช. รพ.สต. อสม. -เกณฑ์มาตรฐานที่ใช้วิเคราะห์ผู้ป่วย เข้าข่าย stroke ทบทวนกระบวนการ fast track รอยต่อระหว่างส่งต่อ ความพร้อม เจ้าหน้าที่/เครื่องมือ/ความแม่นยำการวินิจฉัย -เน้นการพัฒนา Onset- To –Door -ควรสนับสนุนและพัฒนาสมรรถนะของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในstroke unit -พัฒนาระบบการรับส่งต่อผู้ป่วยที่อยู่ตามรอยตะเข็บให้มีการส่งต่อระหว่างจังหวัดได้
11
สาขา COPD อัตราการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
เป้าหมาย < 130 /100,000 ประชากร
12
สาขา COPD ***ข้อมูลจาก HDC 27 สิงหาคม 2560
13
ปัญหาที่พบ ข้อเสนอแนะ
ระบบข้อมูล/การลงข้อมูล การลง ICD10 ซ้ำผู้ป่วยคนเดิม(ไม่มีอาการแต่มาตามนัด) มีความคลาดเคลื่อนในการวินิจฉัยโรคหอบหืด เช่น โรคที่เกิดจากสาเหตุอื่นถูกวินิจฉัยว่าเป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ผู้ป่วย COPD มีโรคร่วมมากที่เป็นสาเหตุของการ admit แต่ถูกลงข้อมูลเป็น COPD ทำให้ตัวชี้วัดสูงเกินความเป็นจริง พฤติกรรมผู้ป่วย ผู้ป่วยส่วนใหญ่ยังสูบบุหรี่ (ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นอันดับ 1 ของประเทศ ข้อมูล HDC 26 ส.ค 60) หน่วยงานผู้รับผิดชอบระบบข้อมูล พัฒนาโปรแกรมการลงระบบบันทึกข้อมูลคลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD quality of care) -ผู้ลงข้อมูลสามารถเข้าถึงแก้ไขข้อมูลได้ ลดขั้นตอนรายละเอียดของข้อมูล
14
อัตราตายทารกแรกเกิดอายุต่ำกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน
PPHN (2,500 g ) preterm<1000 < server BA server RDS Sepsis MAS เสียชีวิตระหว่างการส่งต่อ Intrauterrine transfrr system = 100 % รพช./รพสตคัดกรองครรภ์เสี่ยง เตรียมเลือกที่คลอด /วางแผนการคลอด กรณีเด็กผิดปกติ unexpect ประสานกุมารแพทย์ในการส่งต่อ ภาวะแทรกซ้อนขณะส่งต่อ -ตำแหน่งท่อช่วยหายใจไม่เหมาะสม -Hypothermia BT < 36.5 C
15
ข้อค้นพบ ทารกส่วนใหญ่เสียชีวิตด้วยภาวะแทรกซ้อน/ความพิการแต่กำเนิด/เสียชีวิตระหว่างส่งต่อการเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจ เตียง NICU มีจำนวนไม่ตรงตามเป้าหมายตัวชี้วัด แต่เพียงพอเนื่องจากอัตราการครองเตียงต่ำ ควรสนับสนุนเครื่องมือที่ใช้ส่งต่อทารก คือ (Transport Incubator/ Transport ventilator) ข้อเสนอแนะ ทบทวนกระบวนการ -คัดกรอง/ติดตามหญิงตั้งครรภ์เสี่ยง เช่น DM/HT - กระบวนการส่งต่อทารก การเกิดภาวะแทรกซ้อน -การคัดกรองหัวใจพิการ - Intrauterrine transfersystem สูติแพทย์/ อายุแพทย์/ พยาบาล ประสานงานการดูแลร่วมกัน รพช รพสต คัดกรองในชุมชน โดยมี อสม.เยี่ยมติดตาม หญิงตั้งครรภ์เสี่ยง มีฐานข้อมูลร่วม ประสานส่งข้อมูลร่วมกันระหว่างรพทสต. รพช. ในชุมชน กรณีขาดนัด รพสต อสม ประสานในชุมชน
16
สาขาสูติกรรม สิ่งที่ตรวจพบ การแก้ไข
-แม่ตกเลือดเสียชีวิต 1 รายครรภ์ก่อนหน้ามีประวัติตกเลือด และครรภ์นี้เป็นท้องแฝด -1ราย =KPI ตก -มีการทบทวนเวชระเบียนอย่างละเอียดเพื่อโอกาสพัฒนา -มีแนวทางการปฏิบัติสำหรับการตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยง -ใช้ถุงตวงเลือด พัฒนาระบบขอเลือด ปรับแนวทางการรายงานstaff ในกลุ่มเสี่ยงสูง 0.75= (1ราย/134ราย)
17
สาขาหัวใจและหลอดเลือด
อัตราตายในโรงพยาบาลของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิดSTEMI เกณฑ์ <10 ผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI ได้รับการขยายหลอดเลือดและหรือยาละลายลิ่มเลือด เกณฑ์>80
18
สาขาหัวใจและหลอดเลือด
ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ DOOR TO Needle Time ไม่ได้ตามเป้า - ปัญหาระบบ fast treck /สิทธิการเบิก - ขาดความเข้าใจเกี่ยวอาการแสดงของโรค ตัดสินใจช้า ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีโรคประจำตัว เช่น DM/HT ผู้สูงอายุ/สูบบุหรี่ มาตรฐานการส่งต่อผู้ป่วยยังไม่ชัดเจน-การประสานงานระหว่างหน่วยงาน (ผู้ป่วยญาติ-1669-รพช รพสต-รพท-เจ้าหน้าที่ ER)) บางส่วนเป็น NSTEMI เกิดอาการแทรกซ้อน Killip 4 /Shock ระหว่างส่งต่อ ตัวชี้วัดย่อยผ่านเกณฑ์ แต่อัตราการการตายยังคงสูง ขาดแพทย์/นักเทคโนโลยีด้านหัวใจ -แพทย์หัตถการด้านโรคหัวใจและหลอดเลือด -อายุรแพทย์ด้านโรคหัวใจ -พัฒนาระบบ STEMI Alert -เตรียมการรักษาผู้ป่วยSTEMI รถฉุกเฉินรพช.มีการทำ EKG และถ่ายรูปปรึกษาแพทย์เฉพาะทาง -ควรมีการคัดกรองด้วย CVD risk ในกลุ่มเสี่ยงอย่างทั่วถึง -เพิ่มมาตรการการดูแลในผู้ป่วยกลุ่ม NSTEMI -กำหนดตัวชี้วัดย่อยกระบวนการ อาจปรับเปลียนตามปัญหาและบริบทภายพื้นที่
19
สาขามะเร็ง ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาการผ่าตัดรักษา ใน 4 สัปดาห์ เกณฑ์ > 80 ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดใน 4 สัปดาห์ ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยรังสีรักษาใน 4 สับดาห์ Refer Refer Refer Refer Refer
20
สาขามะเร็ง ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ
-ขาดข้อมูลผู้ป่วยรังสีรักษาที่ Refer มอ. -มี Early Detection (Mammogram, Colonoscopy)ให้ความร่วมมือในการทำ แต่ รอการตัดสินใจในการรักษานาน -ผู้เสียชีวิตจากมะเร็ง เพิ่มสูงขึ้น (ปอด ตับ ปากมดลูก) ศัลยแพทย์ไม่เพียงพอ -มีการเจรจาระหว่างจังหวัด/ภายในเขต 12 และมอ.ในการส่งกลับข้อมูลผู้ป่วยรังสีรักษา -สนับสนุนบุคลากร/อบรมศักยภาพพยาบาล -สร้าง Role model ที่เคยเป็นผู้ป่วยมะเร็ง ส่วนกลางสนับสนุน 1.อัตรากำลังศัลยแพทย์ 2.พัฒนาศักยภาพ/จัดอบรม CNC (Cancer Nurse Coordinator)
22
ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ ข้อมูล
1.ปัญหาของการระบบคัดกรอง (เจาะ-จุ่ม)ลงระบบห่างกัน 1 สัปดาห์ระบบจะตัด 2.ปัญหาการเปลี่ยนเกณฑ์การคัดกรองผู้ป่วย CKD 3.ผู้ที่ปฎิบัติงานไม่สามรถเข้าแก้ไขข้อมูลได้ การติดตามการรักษา การติดตามผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง ไม่สามารถควบคุมได้ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วย DM/HT /สูงอายุ พฤติกรรม 1.คนไข้ปฏิเสธการรักษา/คนไข้หลุดระบบและคนไข้นอกคลินิกเยอะ 2.ไม่รับทานยาตามแพทย์สั่ง-พึ่งยาสมุนไพร ระบบข้อมูล -หน่วยงานผู้รับผิดชอบข้อมูลควรปรับระบบการบันทึกข้อมูล โดยลดขั้นตอนการลงข้อมูล/ผู้ปฎิบัติงานเข้าถึงแก้ไขได้/มีระบบส่งกลับยังรพสต. -มีระบบการติดตามป่วย CKD ใช้รวมกันระหว่าง รพศ-รพช-รพศต. กรณีผู้ป่วยขาดนัดติดตามไม่ได้ -เน้นการคัดกรองใน NCD Clinic ปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างสหสาขาวิชา พฤติกรรม เน้นการให้ความรู้พฤติกรรมรายบุคคล และจัดกิจกรรมส่งเสริมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านพฤติกรรมการดูแลตนเอง
24
ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ การผ่าตัด bliding cartaract ทำได้สูงถึง ส่วนการคัดกรองตาในผู้สูงอายุได้ 48.75 ขาดผู้รับผิดชอบการที่ชัดเจนคัดกรองตาในผู้สูงอายุ (กลุ่มเวชกรรม-กลุ่มงานจักษุ) ผู้รับผิดชอบงานลงข้อมูลไม่ถูกต้อง ครบถ้วน พยาบาล Eye Nurse ไม่เพียงพอ ผู้รับผิดชอบไม่สามารถเข้าแก้ไขข้อมูลได้ เนื่องจากไม่มี PASSWORD/USERNAME การลงข้อมูลในโปรแกรม vision 2020 พยาบาลของ รพสต. ลงข้อมูลไม่ทัน ผู้ป่วยปฏิเสธการผ่าตัด/ความเชื่อด้านศาสนามีผลต่อการตัดสินใจ -กำหนดผู้รับผิดชอบให้ชัดเจนกรณีคัดกรองในผู้สูงอายุ -รพสต.มีส่วนร่วมในการค้นหา/คัดกรอง -เน้นคัดกรองในคลีนิคสูงอายุ/NCD Clinic -ส่วนกลางสนับการอบรมหลักสูตร Eye Nurse -จัดหลักสูตรคู่มือการคัดกรองโรคตาเบื้องต้นให้ รพช/รพสต
25
สาขาปลูกถ่ายอวัยวะ ตัวชี้วัด
จำนวนผู้บริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตายในแต่ละ รพ.Donor เป้าหมาย 38 แห่ง > 1 ราย : 100 hospital death จำนวนผู้บริจาคดวงตาจากผู้เสียชีวิตในแต่ละ รพ. A และ S>5 ราย : 100 hospital death ผลงาน สงขลา 1 ราย ตรัง 2 ราย รวม 3 ราย สงขลา 4 ราย ตรัง 1 ราย นราธิวาส 1 ราย 6 ราย ผลงาน สตูล นราธิวาส ยะลา ผู้จำนงบริจาคอวัยวะ(ราย) 34 301 79 ผู้จำนงบริจาคดวงตา(ราย) 17 269 - ทุกจังหวัดในเขต 12 มีศูนย์รับบริจาคอวัยวะ มีคณะกรรมการเป็นรูปแบบ
26
ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ ขาดผู้ประสานงานการปลูกถ่ายอวัยวะ ที่ผ่านการอบรมเฉพาะทาง 4 เดือน - ขาดผู้จัดเก็บดวงตาที่ผ่านการอบรม จังหวัดพัทลุงยังไม่มีหน่วยบริการที่สามารถปลูกถ่ายอวัยวะได้ ความเชื่อของประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม อาจส่งผลต่อหลักความเชื่อ ทางศาสนา วัฒนธรรมว่าการบริจาคอวัยวะเป็นสิ่งผิดหลักศาสนา -กำหนดประสานงานการปลูกถ่ายอวัยวะที่ผ่านการอบรมเฉพาะทาง 4 เดือน -ส่งผู้เข้ารับการอบรมจัดเก็บดวงตา -ประสานผู้นำด้านศาสนา -ทำความเข้าใจกับญาติผู้ป่วย
28
ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ แพทย์ /พยาบาลขาดแคลน เครือข่ายหน่วยกู้ชีพระดับตำบล ไม่ครอบคลุมทุกตำบล (พัทลุง) การประเมิน ER คุณภาพไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ความต่อเนื่องของข้อมูล เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบงาน การส่งต่อ Trauma Fast Track ยังบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน ระบบข้อมูลไม่เอื้อต่อการนำมาใช้วิเคราะห์ยังมีความยุ่งยากในการประมวลผลข้อมูล จัดทำแผนพัฒนาเฉพาะทางภายในเขต (ทั้งระยะ 4 เดือน และระยะสั้น) ส่วนกลาง -จัดทำคู่มือเกณฑ์การประเมิน ER คุณภาพ ECS -สนับสนุนแพทย์เฉพาะทางในบางสาขา เช่นแพทย์ เวชศาสตร์ฉุกเฉิน แพทย์ศัลยกรรมประสาท
30
ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะ -ขาดความต่อเนื่องในการดูแลผู้ป่วย ไม่เป็นตาม Guideline Sepsis -ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ/ภาวะแทรกซ้อนร่วม/โรคที่พบส่วนใหญ่ Pneumonia/COPD/มารพ.อาการรุนแรง Sepsis shock -ผู้ป่วยติดเชื้อเข้าถึงบริการได้ล่าช้า -การดูแลผู้ป่วยต้องติดตามต่อเนื่อง พัฒนาการใช้ Guideline Sepsis/standing order Sepsis/Sepsis shock -มีมาตรการรองรับเชื้อดื้อยาในรพ พัฒนารพชุมชนเรื่องการวินิจฉัยรักษาเบื้องต้น พัฒนาระบบ fast track
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.