งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

SP Palliative เขต 3 พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "SP Palliative เขต 3 พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 SP Palliative เขต 3 พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข

2

3 Service plan palliative Care ร้อยละของ รพ. ที่มีการดูแล
เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าถึงการดูแลแบบประคับประคอง ในช่วงเวลาของภาวะโรคและอาการอย่างเหมาะสม เพื่อให้ผู้ป่วยและครอบครัวได้รับข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ และมีส่วนร่วมในการวางแผนล่วงหน้า เพื่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดี เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลและความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง จนวาระสุดท้ายของการดูแลและประสานงานจากทีมสุขภาพ Objective ขอบเขต ร้อยละของ รพ. ที่มีการดูแล แบบประคับประคอง ผ่านตามเกณฑ์ พัฒนาและสนับสนุน ระบบงาน PC พัฒนาทีมและเครือข่ายการทำงาน มะเร็ง โรคไต (ระยะบำบัดไต, ระยะได้รับการรักษา เพื่อประคับ ประคอง ชะลอไตเสื่อม A = 1 S = 4 ติดตามประเมินผล M 2 = M 1 = - กำหนดโครงสร้าง - กำหนดCPG - กำหนดแนวทางการใช้ยา - จัดตั้ง PC Center - จัดตั้งศูนย์สำรองอุปกรณ์ - พัฒนาเจ้าหน้าที่ - พัฒนาเครือข่าย F 3 = F 2 = F 1 = 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน กำหนดโครงสร้าง ; - ตั้งคณะกรรมการ - มี Nurse manager - มี PC ward Nurse - มี PC Center - CPG - แนวทางการใช้ยา - ระบบส่งต่อ - ศูนย์สำรองอุปกรณ์ - การรักษาด้วย Strong Opioid Medication/การรักษาด้วยแผนไทย / แพทย์ทางเลือก ปี 60

4

5 ข้อเสนอแนะจากการนิเทศ
One page สรุปผลการนิเทศ สาขา Palliative Care ตัวชี้วัด : ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการดูแลแบบประคับประคอง 100% สถานการณ์ปัจจุบัน - มีการดำเนินงานมาตั้งแต่ปี - โรงพยาบาล A, S, M1 ทุกแห่งมีการดูแลแบบประคับประคอง - เน้นผู้ป่วยกลุ่มมะเร็ง และไตวายเรื้อรัง เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 1-2 (ต.ค 59 –มี.ค 60) ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการดูแลแบบประคับประคอง 85.18 Key Success Factor - มีระบบดั้งเดิมที่วางมาก่อนหน้าอยู่แล้ว - การมีส่วนร่วมของสหสาขาวิชาชีพ Key Risk Factor - ความเข้าใจในความหมายและเนื้องาน ความตระหนักของบุคลากร - การเชื่อมโยงและส่งต่อข้อมูล - อุปกรณ์สำหรับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านไม่เพียงพอ ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะจากการนิเทศ 1. ความรู้ความเข้าใจ / ความตระหนักของบุคลากรสธ. 2. ความครอบคลุมและปัญหาในการใช้ strong opioid 3. การเชื่อมโยงข้อมูลจาก SP อื่น 4. อุปกรณ์ไม่เพียงพอ 1. ช่วยเหลือด้านการอบรมและประชาสัมพันธ์งาน Palliative Care 2. จัดสรร strong opioid ให้มีเพียงพอกับความต้องการ ประสานเชื่อมโยงกับภาคส่วนอื่นในระดับนโยบาย 3. ปรับปรุงฐานข้อมูลผู้ป่วยมะเร็งซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก 4. เพิ่มงบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณ์

6 6 BB plus ประเด็น การดำเนินการ เขต กรมการแพทย์ กระทรวง
Service delivery ; คกก. Palliative & PC center แนวทางในการดูแลและการส่งต่อผู้ป่วย ตั้งคกก.ให้ครบทุกโรงพยาบาล และจัดหาผู้รับผิดชอบ พัฒนาแนวทางในการดูแล,ส่งต่อให้เหมือนกันทั้งเขต พัฒนาแนวทางในการดูแลจากกรมการแพทย์โดยจัดทำ List of disease and Standard of palliative care Workforce ; สมรรถนะของบุคลากรที่ปฏิบัติงานอยู่ในปัจจุบันยังไม่ถึงตามเกณฑ์ที่กำหนด .จัดอบรม Basic Palliative care 5 วัน ระดับเขต ส่งบุคลากรอบรม PC nurse (หลักสูตร 4 เดือน) ฝึกอบรมตามกรอบ/แนวทางของหลักสูตร (เขตสุขภาพทั้ง 13 เขต) อบรมหลักสูตร 3 วัน และผลิตหลักสูตรพยาบาล 10 วัน

7 x ประเด็น การดำเนินการ เขต กรมการแพทย์ กระทรวง IT ;
ระบบในการจัดเก็บข้อมูล ระบบในการส่งต่อที่เหมือนกันทั้งเขต จัดให้มีระบบในการจัดเก็บข้อมูล data ร่วมกัน จัดทำระบบเอกสารส่งต่อให้เหมือนกันทุกโรงพยาบาล Palliative care cloud (จากรพ.ขอนแก่น) x Drug & Equipment ; บริหารจัดการด้านยาเพื่อการเข้าถึงบริการ ศูนย์สำรองอุปกรณ์มีไม่เพียงพอความต้องการ แนวทางการใช้ยาและการยืมยาstrong opioid เชื่อมต่อแพทย์แผนไทย/แพทย์ทาง เลือก

8 - ประเด็น การดำเนินงาน เขต กรมการแพทย์ กระทรวง Financial ;
แหล่งงบประมาณ PP, UC , NonUC, สสส.,สปสช. ลงข้อมูลระบบ E-claim Governance ; เกณฑ์ผู้ป่วยเข้าPalliative ตามนโยบาย ประสานกับ SP อื่นๆที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการ Service Plan เขต3 ติดตามประเมินผล Advance cancer Advance disease with poor prognosis Dementia HIV/AIDS Participation ; การมีส่วนร่วมของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ อบรมจิตอาสาและพัฒนาการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประชาสัมพันธ์และจัดหาทุนเพื่อซื้ออุปกรณ์เพิ่มเติม (จากภาคเอกชน) -

9 ขอบคุณค่ะ

10

11

12

13

14 ประเด็นที่ต้องการการสนับสนุน
ควรมีการจัดหลักสูตรอบรมในส่วนกลางหรือจังหวัดใกล้เคียง เช่น กรุงเทพฯ หรือปริมณฑล เพราะหลักสูตรการอบรมระดับกลาง/ยาว (6 สัปดาห์ – 4 เดือน) ในตอนนี้จัดอบรมในส่วนภูมิภาคที่ไกลมาก เช่น เชียงใหม่ ขอนแก่น กระบวนการสั่งซื้อและจัดส่ง strong opioid จากองค์การเภสัชกรรมใช้เวลานาน ทำให้โรงพยาบาลขนาดเล็กซึ่งมี stock ยาน้อย ไม่สามารถหายาได้ทัน เวลามีผู้ป่วย palliative ซึ่งต้องใช้ strong opioid แต่ละวันในปริมาณมาก

15 KPI จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง/ปี
อัตราผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองได้รับการเยี่ยมบ้านในเขตรับผิดชอบ/ปี ( > 80% ) อัตราผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลตามแนวทางpalliative care มีการรักษาด้วย Strong Opioid Medication ( ≥ 30%) อัตราผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองได้รับการวางแผนการดูแลล่วงหน้า(advance care plan )/ปี ( > 60% ) อัตราผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองได้รับการติดตามที่OPD /ปี ( > 60% ) จำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิตที่โรงพยาบาล/จำนวนผู้ป่วยที่ตายดีที่โรงพยาบาล ( > 80% ) จำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิตที่บ้าน/จำนวนผู้ป่วยที่ตายดีที่บ้าน ( > 80% ) อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติต่อการดูแลแบบประคับประคอง (> 80% )


ดาวน์โหลด ppt SP Palliative เขต 3 พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google