งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7
Service plan แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7 “ร้อยแก่นสารสินธุ์” คณะ 2

2 เขตสุขภาพที่ 7 S S ประชากรรวม 5,043,862 คน กาฬสินธุ์ ขอนแก่น มหาสารคาม
เตียงรวม 6,374 เตียง กาฬสินธุ์ ขอนแก่น 984,907 คน 1,790,049 คน 1,372 เตียง S 2,230 เตียง มหาสารคาม 960,588 คน ร้อยเอ็ด 1,308,318 คน 1,230 เตียง 1,542 เตียง 77 อำเภอ 658 ตำบล 8,163 หมู่บ้าน ที่มา: สบรส. พฤษภาคม 2559

3 เครือข่ายโรงพยาบาล เขตสุขภาพที่ 7

4 การดำเนินงานจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศ ระหว่างเขตสุขภาพ กับ มหาวิทยาลัย
การดำเนินงานจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศ ระหว่างเขตสุขภาพ กับ มหาวิทยาลัย

5 MOU ประเด็น เขตสุขภาพที่ 7 ความร่วมมือ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น / มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประชุมกรรมการ / อนุกรรมการ 6 ครั้ง /Workshop 1 ครั้ง ด้านบริการ (service) -5 EC + Referral system(หัวใจ/มะเร็ง/อุบัติเหตุ/ทารกแรกเกิด/ปลูกถ่ายอวัยวะ) -กำหนดระดับชัดเจนทุกสาขา ด้านบุคลากร (Academic) ศูนย์ฝึกทักษะการดูแลผู้ป่วยในสถานการณ์เสมือนจริง (Khon Kaen University Simulation center for health care provider training (Post grad /Undergrad) ด้านวิจัย (Research) Research center region 7 -Clinical trials -Registry -Research program

6 Level สาขา บริการ ระดับ 1+ 1 2 3 1.หัวใจ 2.มะเร็ง 1.พยาธิวิทยา
มข. ขก. รอ. กส./มค. 2.มะเร็ง 1.พยาธิวิทยา มข./รอ. 2.รังสีวินิจฉัย 3.ผ่าตัด 4.เคมีบำบัด 5.รังสีรักษา 6.รังสีร่วมรักษา 7.เวชศาสตร์นิวเคลียร์ 3.อุบัติเหตุ 1.Multiple Injury มข./ขก. 2.Neuro Surgery มค. กส. 3.Vascular Surgery 4.Burn 5.Prehospital care – ALS 6. In hospital care

7 Level สาขา บริการ ระดับ 1+ 1 2 3 4.ทารกแรกเกิด 5.ปลูกถ่ายอวัยวะ
มข. ขก. กส. /รอ. มค. 5.ปลูกถ่ายอวัยวะ 1.Kidney มมส./ ขก./รอ. 2.Liver 3.Heart&Lung 4.Cornea 5.Bone marrow มข./ขก. 6.รับบริจาค มมส. กส./มค.

8 มาตรการ Service plan เขตสุขภาพที่ 7
ระบบ พบส. พี่น้องช่วยกัน ระดับเขต/จังหวัด 13 สาขา ศูนย์ส่งต่อบริหารจัดการระดับเขต/จังหวัด แผนการลงทุนระดับเขต แผนกำลังคน/พัฒนาบุคลากรรายสาขา การพัฒนาระบบข้อมูล/ บริหารจัดการ การร่วมมือ กับภาคส่วนต่างๆ ทั้งรัฐและเอกชน

9 ศักยภาพของเขตเป็นอย่างไร รับมือกับปัญหาสุขภาพของพื้นที่ได้หรือไม่
การส่งออกนอกเขตบริการลดลงหรือไม่ ผลลัพธ์ของ SP โดยเฉพาะสาขา Exellent Center ผลงาน 5 สาขาหลักของ node และการRefer in ลดลง ค่า CMI ที่ผ่านเกณฑ์ การรับมือกับ NCD

10 ส่งออกนอกเขต7 ไตรมาส 2 (คิวรังสีรักษาที่ ศรีนครินทร์และรพ.ขอนแก่นยาว)
ส่งออกน้อยเพราะ ศักยภาพสูง ส่งมะเร็งฉายแสงอุดร มะเร็งชุกส่งอุบล ฉายแสง (อยู่ระหว่างพัฒนารังสีรักษา) -ส่งออกมาก (+ ต้อกระจก ศุภมิตร) -มะเร็งไปฉายแสงที่ อุดรฯ (คิวรังสีรักษาที่ ศรีนครินทร์และรพ.ขอนแก่นยาว)

11 แนวทางการแก้ไขปัญหาในเขตสุขภาพที่ 7
ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยมะเร็ง ที่ต้องฉายแสง ,รพ.ในเขตยังมีข้อจำกัดในการดูแลผู้ป่วยทำให้ระยะเวลารอคอยนาน จึงได้เสนอแนวทางแก้ไข ดังต่อไปนี้ 1.แผนเพิ่มศักยภาพ รพ. แม่ข่ายสาขามะเร็งภายในปี ดังนี้ รพ.ศรีนครินทร์ เป็น ระดับ 1+ รพ. ร้อยเอ็ด (A) เป็นระดับ 1+ รพ. ขอนแก่น (A) เป็นระดับ 1 2. พัฒนาระบบส่งต่อภายในเขตให้มีประสิทธิภาพ Case manager MIS (หลากหลายโปรแกรมส่งต่อ ขาดการเชื่อมโยงข้อมูล) CPG Referral center A-F Definition (ของ refer in/refer out/refer back ในและนอกเขตมีความแตกต่างกัน มีปัญหาในการวิเคราะห์ข้อมูล) หมายเหตุ : ตามแผน MOU เขตสุขภาพที่ 7 ร่วมกับมหาวิทยาลัย

12 เขตสุขภาพที่ 7 ศัลย์ 15% Appendicitis 33.80%(เกณฑ์25) (1,489/4,405)
กาฬสินธุ์ โมเดล กาฬสินธุ์ สิรินธรโมเดล ขอนแก่น 53% 18.4% มหาสารคาม GP ผ่าได้ ร้อยเอ็ด ศัลย์ 15% 50.6% Appendicitis 33.80%(เกณฑ์25) (1,489/4,405)

13 เขตสุขภาพที่ 7 Ortho กาฬสินธุ์ ขอนแก่น 45.% มหาสารคาม ร้อยเอ็ด
60.6% 45.% line consult ฝึกแพทย์ก่อนออก รพช. มหาสารคาม ร้อยเอ็ด 54.3% 65.2% Ortho Non displaced fx 57.34% (เกณฑ์ 25) (3158/5507)

14 เขตสุขภาพที่ 7 สูติ 13% กาฬสินธุ์ ขอนแก่น 39.3% มหาสารคาม ร้อยเอ็ด
28.3% สูติ 25.5% . Caesarean section 24.10% (เกณฑ์> 10) (2224/9227)

15 ปัญหาการเชื่อมโยงเครือข่าย
เขตสุขภาพที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ลดลง 12.03% ลดลง 93.80% มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ปัญหาการเชื่อมโยงเครือข่าย ลดลง 24.24% เพิ่มขึ้น 31.69% Med. Sepsis refer ลดลง 1,017 ราย

16 มหาสารคาม ใช้ non invasive repirator
เขตสุขภาพที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ลดลง4% กุมาร On Respirator Refer in ลดลง มหาสารคาม ใช้ non invasive repirator

17 CMI 2559 ผ่าน ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหาสารคาม กาฬสินธุ์ รวม A 2.0695 1.58 -
1.82 S 1.52 1.6325 1.57 M1 0.9859 0.98 M2 0.6816 0.775 0.65 0.7507 0.71 F 0.6226 0.5683 0.5575 0.5083 0.57 ผ่าน 13/22 7/17 2/16 3/14 25/69 CMI Refer in จาก รพ.ช.

18 Quick Win สาขา หัวใจภาพเขต
สาขาหัวใจ สถานการณ์ รพ.ขอนแก่น ศูนย์หัวใจ ระดับ21 รพ.ร้อยเอ็ด ศูนย์หัวใจ ระดับ 32 รพ.A-F2 ให้ SK ได้ทุกที่ 100% เหลือขยาย Warfarin Clinic 100%F2พัฒนาระบบการบริหารจัดการยา Dual-anti plateletให้ครอบคลุม STEMIได้ SK/PPCI Key Process กลไกขับเคลื่อน : PA-CIPO ทีมหัวใจสัญจร/ACS rally นัด Echo/Cath lab online Line consult /24 ชม. Training SK box ของกาฬสินธุ์ การลงข้อมูล ACS:UCHA Quick Win สาขา หัวใจภาพเขต เป้า หมาย ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ภาพเขต 7 ร้อยละรพ. A-F2 สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยSTEMIได้ > 75% 93.45% (257/275) 86.09% (130/151) 96.87% (93/96) 88.46% (92/104) 91.37% (572/626) รพ. A-F2 ที่สามารถให้ยา SK 100% 100% (24/24) (17/17) 100% (11/11) 100% (14/14) 100% (66/66) อัตราตาย STEMI ≤ 10% 9.09% (25/275) 2.59% (4/154) 1.04% (1/96) 4.8 % (5/104) 5.56 % (35/629 ) รพ. A-F2 จัดตั้ง Warfarin Clinic 100 % (24/24) 29.41 (5/17) 45.45% (5/11) (14/14) 72.72% (48/66) Refer out นอกเขต ผู้ป่วย ACS ลดลง ลดลง 50 % 1 ราย 17 ราย 3 ราย 40 ราย ลดลง 3.28% (61 ราย) **--นอกเขต รวมส่ง ต้อกระจกศุภมิตรเสนา จ.อยุธยา ปี57 =819 ราย,ปี58 =940ราย

19 สาขาอุบัติเหตุ อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยในจากการบาดเจ็บ
สถานการณ์ รพ.ขอนแก่น EC ระดับ 1 Learning Center ตายทางถนน 18.18/แสน ปชก. พัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลM2ในการดูแลผู้บาดเจ็บต่อเนื่องหลังพ้นระยะวิกฤติ ขาดแคลนห้องผ่าตัด อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยในจากการบาดเจ็บ ที่มีค่า Ps score ≥0.75 (เป้าหมาย< 1 %) Key Process PA : CIPA ลดบาดเจ็บทางถนน ข้อมูลเสนอ ศปถ.แก้จุดเสี่ยงครบ มาตรการองค์กร 100% Ambulance Safety ด่านชุมชน 77 อำเภอ TEA Unit / EOC ตัวชี้วัด 6 เดือน ผลงาน หมายเหตุ ตาย PS score >0.75 0.83 ขอนแก่นไม่ผ่าน ER คุณภาพ >70% 100% สีแดงมาด้วย EMS >50% 55.24 แก้จุดเสี่ยง >5 /จ./ไตรมาส 40 ผ่านทุกจังหวัด TEA U –A,S,M1 ER to OR ภายใน 30 นาที>80% 40.83% ขอนแก่นต่ำ **--นอกเขต รวมส่ง ต้อกระจกศุภมิตรเสนา จ.อยุธยา ปี57 =819 ราย,ปี58 =940ราย

20 สาขามะเร็ง สถานการณ์ Key Process PA : CIPO OVCCA
Fast track มะเร็งเต้านมเขต โครงการรณรงค์ร่วมกับ CASCAP โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมกาญจนาบารมี โครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ร่วมกับ มข. โครงการพัฒาระบบป้องกันและควบคุมมะเร็ง นำร่องที่ อ.พนมไพร จ.ร้อยเอ็ด สถานการณ์ รพ.ขอนแก่น ศูนย์เชี่ยวชาญระดับ2 1 รพ.ร้อยเอ็ด ศูนย์เชี่ยวชาญระดับ 21+ พัฒนา M1 ให้เคมีบำบัด ขอนแก่นรอคอยรังสีรักษา > 2 เดือน ปัจจุบันส่งโรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานี ปัญหา : มะเร็งตับ/ท่อน้ำดีมากสุดในอีสาน CA Breast /CACx เพิ่ม ระยะลุกลาม >ระยะเริ่มต้น ขาดแคลนบุคลากรสาขาที่เกี่ยวข้อง ห้องผ่าตัดไม่พอ Quick Win สาขา มะเร็ง เป้า หมาย ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหา สารคาม กาฬสินธุ์ ภาพเขต 7 1. ลดระยะเวลารอคอยผ่าตัดใน 4 สัปดาห์ > 80 % 68 % 126/185 80.39 123/153 91.42 % 96/105 91 % 31/34 78.83% 376/477 2. ลดระยะเวลารอคอยเคมีบำบัดใน 6สัปดาห์ 90.6 % 1078/1189 85.95 104/121 93 % 98/105 100 % 2/2 90.92% 1282/1410 3. ลดระยะเวลารอคอยรังสีรักษาใน 6 สัปดาห์ 48.1% 234/486 76.92 10/13 80% 32/40 91% 53.58% 307/573 **--นอกเขต รวมส่ง ต้อกระจกศุภมิตรเสนา จ.อยุธยา ปี57 =819 ราย,ปี58 =940ราย

21 สาขาทารกแรกเกิด สถานการณ์ รพ.ขอนแก่น EC ระดับ 21
รพ.ร้อยเอ็ด ศูนย์ NB ระดับ 21 รพ.มหาสารคามระดับ 3 แต่รักษา laser ROP /ให้ Surfactant /ให้ TPN screening IVH CHD ROP ได้ M2 ลงไปไม่เปิด NICU NICU 58 (จาก85) เพิ่ม 7 เตียง สาขาทารกแรกเกิด Key Process PA : CIPO หัวใจ/NB สัญจร Fast track /ส่งต่อปลอดภัย กุมาร SP rally กุมารสัญจรเยี่ยม Node Stable Program พัฒนา Refer back นวัตกรรม: Nasal CPAP Non invasive Respirator ที่ รพ.บรบือ **--นอกเขต รวมส่ง ต้อกระจกศุภมิตรเสนา จ.อยุธยา ปี57 =819 ราย,ปี58 =940ราย Quick Win เป้า หมาย ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหา สารคาม กาฬสินธุ์ ภาพเขต7 1. อัตราตายทารกแรกเกิดอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน >5:1000 การเกิดมีชีพ 6.55 70:10,693 2.9 16:5,344 3.4 15:4,299 1.66 6:3,875 4.42 107:24,211 2. จำนวนเตียงNICUเพิ่มขึ้นเพียงพอต่อการบริบาลทารกป่วย เพิ่มขึ้น ร้อยละ10 28 เตียง (ควรมี 37 เตียง) 14 เตียง  (ควรมี 18 เตียง) 8 เตียง (ควรมี 14 เตียง) 16 เตียง) 7เตียง 18.9%

22 สาขาจักษุ สถานการณ์ ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการตรวจคัดกรองตา
จ.ขอนแก่น มีจักษุแพทย์ 9 คน(ครบทุกอนุสาขา) fundus camera 23 เครื่อง หมุนเวียนในจังหวัด จ.ร้อยเอ็ด มีจักษุแพทย์ 3 คน fundus camera 18 เครื่อง มีการจัดการที่เอื้อต่อการเข้าถึงบริการ ได้แก่ การจัดบริการรถรับส่งผู้ป่วยที่มาผ่าตัด การเพิ่มบริการผ่าตัดนอกเวลา การเปิดห้องผ่าตัดเพิ่ม จ.มหาสารคาม มีจักษุแพทย์ 5 คน (retina 1 คน) fundus camera 8 เครื่อง เป็นศูนย์ retina รับ Refer ทั้งใน/นอกเครือข่าย ,มีศูนย์ดวงตา/เปลี่ยนกระจกตา จ.กาฬสินธุ์มีจักษุแพทย์ 4 คน ยังขาดจักษุแพทย์ด้านretina พยาบาลเวชปฏิบัติทางตายังไม่ครอบคลุมทุกอำเภอ เครื่องfundus camera ยังไม่เพียงพอต่อการคัดกรอง และไม่มีเครื่องpattern laser ในการรักษาDR คัดกรองDRน้อย ลงข้อมูลน้อย Quick Win เป้า หมาย ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ภาพเขต 7 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการตรวจคัดกรองตา 75% 65.3 (194,355/297,634) 88.41 % (183348/207395 % (117,118) 64 % (88,161/137,739) 75.18% ผู้ป่วยLow Vision Cataract ได้รับการผ่าตัดภายใน90วัน 80% 99.20% (2197/3093) 94.90% 93.57 % (585) 100 % (390/390) 96.92%

23 สาขาไต ชะลอไตเสื่อม **--นอกเขต รวมส่ง ต้อกระจกศุภมิตรเสนา จ.อยุธยา
สถานการณ์ HD ทั้งเขต439 เครื่อง มีเพียงพอ CAPD NODE ถึง M2 จ.ขอนแก่น A-M2 ทำได้ 5 ใน 6 รพ. จ.ร้อยเอ็ด M2 ได้ 2 ใน 4 รพ. จ.มหาสารคาม M2 มี CAPD Node 1 ใน 2 รพ. จ.กาฬสินธุ์ M2 ครบ 3 รพ. CKD Clinic แยกชัดเจนใน M1,F1 คัดกรอง CKD ใน DM,HT ต่ำ สาขาไต ชะลอไตเสื่อม Key Process PA : CIPO NCD เริ่มจากลด CKD นำสู่ลด DM HT ดำเนินงานชุมชนรักษ์ไต บูรณาการ CKD Clinic กับ NCD Clinic พัฒนาฐานข้อมูลตัวชี้วัด NCD:CKD eGFR เป็น Enzymatic Method **--นอกเขต รวมส่ง ต้อกระจกศุภมิตรเสนา จ.อยุธยา ปี57 =819 ราย,ปี58 =940ราย Quick Win เป้า หมาย ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหา สารคาม กาฬสินธุ์ ภาพเขต7 1. ร้อยละของผู้ป่วยมีอัตราการลดลงของeGFR น้อยกว่า 4 ml/min/1.72 m2/yr > 50 % 59.83% 7,951/13,289 69.71% 7,113/10,303 62.08% 4,089/6587 65.13% 7,856/12062 63.94% 27,009/42,241 2. ร้อยละของผู้ป่วยDM HTได้รับการคัดกรองCKD > 90% 46 % 71.76 (74,316/103,568) 61.34 % 54 % 58 % 3. ร้อยละของ CKD clinic ที่ดำเนินการอย่างสมบูณณ์ในรพ.A-F1 100% (7/7) 20 % (1/5) NCD-CKD clinic แบบบูรณาการ

24 สาขาโรคไม่ติดต่อ สถานการณ์ การควบคุม DM ,HT ไม่ได้ตามเกณฑ์ (ต่ำทุกเขต)
Application Stroke Fast Track KKU ขาดการพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ Stroke ยังไม่บูรณาการร่วมกับ หัวใจ ไต และปฐมภูมิ Key Process ผู้บริหารร่วมขับเคลื่อน Case Manager/System manager Line consult Quick Win เป้า หมาย ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหา สารคาม กาฬสินธุ์ ภาพเขต 7 อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง < 7 % 5.23% 2.47% (26/948) 5.57% (37/642) 4.91% (27/34) 4.55% อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลผู้ป่วย COPD <130 ต่อแสน ประชากร 83.04% 30.27% (331/1,093,307) 57.93% 72.08% (522:941) 60.83%

25 สาขายาเสพติด สถานการณ์ Key Process แพทย์และพยาบาลเฉพาะทาง
มีคลินิกยาเสพติดทั้งหมด 67 แห่ง แพทย์ผ่านการอบรมหลักสูตรเวชศาสตร์สารเสพติดทั้งหมด 26 คน ร้อยละ 38.9 พยาบาลPGยาเสพติด 35คน ร้อยละ 52 คลินิกเสพติดคุณภาพร้อยละ 71.6(48/67) การdrop out สูง ผู้ป่วยระบบสมัครใจน้อย Key Process แพทย์และพยาบาลเฉพาะทาง คลินิกยาเสพติดคุณภาพ CPG สุรา บุหรี่ Quick Win เป้า หมาย ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ภาพเขต 7 ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง3เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดตามเกณฑ์ที่กำหนด 92% 97 237/243 93.63 367/392 98.6 220/223 91.67 220/240 95.08 1044/1098 ร้อยละของศูนย์คัดกรองดำเนินงานตามแนวทาง 80% 100 ร้อยละของคลินิกยาเสพติดผ่านการรับรองคุณภาพ 70% 86 19/22 55 11/20 11/11 50 7/14 71.6 48/67

26 เขตสุขภาพที่ 7 สรุป Service Plan ทำแล้วได้อะไร
ขอนแก่น กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด มหาสารคาม ลดความเหลื่อมล้ำ-เพิ่มการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ ครอบคลุมและทั่วถึง แล้วหรือยัง และจะก้าวเดินต่อไปอย่างไร

27 ข้อเสนอแนะ IMPLEMENTATION
ควรมีการพัฒนาเพิ่มเติมในด้าน Policy และช่องทางในการสื่อสาร ร่วมคิดร่วมทำในแต่ละระดับ บูรณาการในแต่ละสาขา การจัดสรรทรัพยากร DATA BASE ควรทบทวนแนวทางการจัดเก็บข้อมูลในแต่ละสาขาตั้งแต่แหล่งที่มาของข้อมูล คำจำกัดความและการวัดวิเคราะห์ที่ตอบสนองต่อการรายงานความก้าวหน้า ควรทบทวนโปรแกรมการส่งต่อของแต่ละจังหวัดในเขต ที่มีความแตกต่างกัน เพื่อสามารถเชื่อมต่อข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วยในภาพรวมได้อย่างมีประสิทธิภาพ RESOURCE ห้องผ่าตัด แพทย์ พยาบาลเฉพาะทาง

28 ขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google