งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง บุณฑริกา บุญศิริตระกูล

2 โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง

3 ผลการประเมินการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามเกณฑ์ NCD Clinic Plus (ร้อย ๖๐ ของสถานบริการ) รอบที่ 1 ลำดับ โรงพยาบาล คะแนนกระบวนการ (50 คะแนน) คะแนนผลลัพธ์ รวม (100 คะแนน) ผ่านเกณฑ์ 1 บางกระทุ่ม 37.8 44.6 82.36 ระดับดีมาก 2 เนินมะปราง 35.4 44.8 80.21 3 วัดโบสถ์ 35.1 45 80.1 4 ชาติตระการ 33.8 43.6 77.38 ระดับดี 5 บางระกำ 35.7 40.8 76.51 6 วังทอง 37.1 36.4 73.54 7 พรหมพิราม 30.8 66.51 ระดับพื้นฐาน 8 นครไทย 31.8 32.8 64.6 9 มหาวิทยาลัยนเรศวร 39.0 23.6 62.6 10 พุทธชินราช พล. 41.2 20.6 61.8

4 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง( ร้อยละ 2.4)

5 อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง (เป้าหมาย ร้อยละ 2.4)
อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง (เป้าหมาย ร้อยละ 2.4) อำเภอ กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ปี2559 ผป.เบาหวานรายใหม่ ร้อยละ พุทธชินราช 9250 322 3.48  มน. 2296 119 5.18  นครไทย 5,107 81 1.59 ชาติตระการ 1,853 43 2.32 บางระกำ 6,690 201 3.00 บางกระทุ่ม 5,158 102 1.98 พรหมพิราม 4,698 89 1.89 วัดโบสถ์ 1,946 45 2.31 วังทอง 7,053 182 2.58 เนินมะปราง 4,261 37 0.87 รวมจังหวัด 48,312 1,221 2.53

6 ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข
1 . การบริการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ขาดการติดตามกลุ่มเสี่ยง อย่างต่อเนื่อง (กลุ่มเสี่ยงมีจำนวนมาก เมื่อเทียบกับ จำนวน จนท.) 1.1 พัฒนาเครือข่าย จิตอาสา/อสค./อสม. ใน การกระตุ้นเตือนในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมและดูแลติดตามกลุ่มเสี่ยง อย่างต่อเนื่อง 1.2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้รูปแบบการลด พฤติกรรมเสี่ยง/ลดปัจจัยเสี่ยงที่ดี ของ แต่ละพื้นที่ในระดับอำเภอ 1.3 สร้างกระแสการสร้างเสริมพฤติกรรม ๓ อ ๒ ส ชุมชน ในแนวกว้าง เช่น การ รณรงค์ออกกำลังกาย /หอกระจายข่าว

7 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ที่คุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี (เป้าหมาย ร้อยละ 40)

8 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี (เป้าหมาย ร้อยละ 40)
อำเภอ จำนวนผู้ป่วย ได้รับการตรวจ HbA1C ควบคุมได้ดี ร้อยละ พุทธชินราช 12,517 8,254 4,071 32.52  มน. 2,196 1,534 685 31.19  นครไทย 4,612 3,617 644 13.96 ชาติตระการ 1,665 1,449 551 33.09 บางระกำ 4,866 3,877 2,065 42.44 บางกระทุ่ม 2,948 2,352 1,376 46.68 พรหมพิราม 5,397 3,823 1,880 34.83 วัดโบสถ์ 2,385 1,940 992 41.59 วังทอง 5,687 3,586 1,755 30.86 เนินมะปราง 2,409 1,893 806 33.46 รวมจังหวัด 44,682 32,325 15,068 33.30 

9 ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ที่คุมระดับความดันโลหิตได้ดี(เป้าหมาย ร้อยละ 50)
50%

10 ร้อยละของผู้ป่วยHTที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี (เป้าหมาย ร้อยละ 50)
อำเภอ จำนวนผู้ป่วย ได้รับการตรวจHTอย่างน้อย 2 ครั้งในปี ควบคุมได้ดี ร้อยละ พุทธชินราช 26,921 10,077 5,123 19.03  มน. 5,130 3,189 1,455 28.36  นครไทย 10,598 7,025 4,390 41.42 ชาติตระการ 3,775 3,099 2,287 60.58 บางระกำ 11,859 8,881 6,674 56.28 บางกระทุ่ม 7,316 5,420 3,847 52.58 พรหมพิราม 13,566 8,628 5,240 38.63 วัดโบสถ์ 5,080 4,011 3,067 60.37 วังทอง 12,840 8,909 5,714 44.5 เนินมะปราง 5,069 3,649 3,296 65.02 รวมจังหวัด 102,154 62,888 41,152 39.81

11 ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข
1. การตรวจ HbA1C ในเบาหวาน ได้ไม่ ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ( 72.2%) 1. เร่งรัดการตรวจ HbA1C ให้ครอบคลุม 2. การตรวจวัดความดันโลหิตครั้งที่2 ไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย (62%) / ยังไม่ได้ลงข้อมูล update ในโปรแกรม 2. เร่งรัดการลงบันทึก,แก้ไขข้อมูล ให้ถูกต้อง ครบถ้วน โดยการตรวจสอบข้อมูลที่ ผิดพลาดด้วย Idata / โปรแกรม EH ฯลฯ 3. ในคลินิกมี ผป.จำนวนมาก ส่งผลต่อ คุณภาพในการบริการ การปรับเปลี่ยน พฤติกรรมและขาดการติดตาม ผป. อย่าง ต่อเนื่อง (จนท. ภาระงานมากและ รับผิดชอบหลายงาน) 3.1 พัฒนาระบบบริการ ได้แก่ - เพิ่มจำนวนวันคลินิกบริการ ให้ เหมาะสมกับจำนวน ผป.ในแต่ละวัน - จัด จนท.จากสถานบริการอื่นมาช่วยใน โซนเดียวกัน หรือ รพ.สต จับคู่ Buddy 3.2 พัฒนาเครือข่าย จิตอาสา/อสค./อสม. 3.3 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้รูปแบบที่ดี ของ แต่ละพื้นที่ในระดับอำเภอ ที่จัดการได้ดี 3.4 สนับสนุนการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพ

12 ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข(ต่อ)
4. ผู้ป่วยยังขาดความตระหนัก และ มีการรับรู้ ที่ไม่ถูกต้อง ทำให้มีปฏิบัติตัวในการบริโภค อาหารไม่ถูกต้อง (จากการลงเยี่ยมพื้นที่ .. พบพื้นที่อำเภอนครไทย ชอบดื่มน้ำอัดลม/ ดื่มสุรา/ผงชูรส/หยุดรับประทานยาเพราะ ไม่มีอาการผิดปกติ /เชื่อว่ายาแผนปัจจุบัน ทำให้ไตเสื่อม หันไปรับประทานยา สมุนไพรแทน) 4.1 พัฒนารูปแบบในการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจและปรับเจตคติเชิงลบ เพื่อ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 4.2 พัฒนาคุณภาพการบริการ จุด Exit Nurse เน้น สรุปให้ผู้ป่วยรับรู้ปัญหาสุขภาพ /พฤติกรรมเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงของตนเอง และข้อมูลการดูแลตนเอง การปฏิบัติตัวที่ ถูกต้องเพื่อให้ควบคุมโรคได้ ป้องกัน ภาวะแทรกซ้อน 4.3 สร้างกระแสสังคมแนวกว้าง (การรณรงค์/หอกระจายข่าว)เพื่อการ สร้างเสริมพฤติกรรม 3 อ 2 ส ในชุมชน เน้น การบริโภคอาหาร,การออกกำลังกาย

13 โรคหลอดเลือดสมอง

14 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ตรวจคัดกรอง เป้าหมาย >=80% ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 89.04 70.47 ผลงาน T1= 20% T2= 50% T3= 60% T4= 80% อำเภอ A B ร้อยละ เมือง พล. 10,778 5,004 46.43 นครไทย 4,708 3,193 67.82 ชาติตระการ 2,002 1,795 89.66 บางระกำ 5,101 4,552 89.24 บางกระทุ่ม 2,910 2,530 86.94 พรหมพิราม 5,559 3,646 65.59 วัดโบสถ์ 1,988 1,810 91.05 วังทอง 5,189 3,882 74.81 เนินมะปราง 2,461 2,268 92.16 รวมจังหวัด 40,696 28,680 70.47 ข้อมูล HDC ณ วันที่ 13 กรกฎาคม 2560 B หมายถึง จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ที่ขึ้นทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ ที่ยังไม่ป่วยด้วย CVD A หมายถึง จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ที่ขึ้นทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบที่ยังไม่ป่วยด้วย CVD ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk)

15 Score ลดลง อัตราผู้ป่วย DM / HT ที่ขึ้นทะเบียน
ได้รับการประเมิน CVD Risk ผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดความเสี่ยง CVD ในกลุ่มเสี่ยงสูงมาก,กลุ่มเสี่ยงสูงอันตราย อำเภอ จำแนกตาม Risk Score เป้าหมาย ระดับ 1-3 ร้อยละ ระดับ 4+5 เมือง 5,004 4,985 99.62 19 0.38 นครไทย 3,193 3,190 99.91 3 0.09 ชาติตระการ 1,795 1,794 99.94 1 0.06 บางระกำ 4,552 4,546 99.87 6 0.13 บางกระทุ่ม 2,530 2,528 99.92 2 0.08 พรหมพิราม 3,646 3,635 99.70 11 0.30 วัดโบสถ์ 1,810 100.00 0.00 วังทอง 3,882 3,877 5 เนินมะปราง 2,268 2,267 99.96 0.04 จังหวัด 28,680 28,632 99.83 48 0.17 อำเภอ B A ร้อยละ เมือง 18 13 72.22 นครไทย 6 5 83.33 ชาติตระการ บางระกำ 8 75 บางกระทุ่ม 2 100 พรหมพิราม 10 76.92 วัดโบสถ์ วังทอง 9 88.89 เนินมะปราง จังหวัด 58 46 79.31 Score ลดลง หมายเหตุ : รวมระดับ 1-3 = รวมกลุ่มเสี่ยงต่ำ, เสี่ยงปานกลาง, เสี่ยงสูง /รวมระดับ 4-5 = รวมกลุ่มเสี่ยงสูงมาก, เสี่ยงสูงอันตราย B หมายถึง จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยง CVD ในกลุ่ม Score 4 และ 5 ต้นปีงบประมาณ A หมายถึง จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยง CVD ในกลุ่ม Score 4 และ 5 ต้นปีงบประมาณที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ Score ลดลงในปัจจุบัน

16 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จัดประชุม จนท. ผลิตสื่อต้นแบบ ติดตามผลการดำเนินงาน สสจ. สนับสนุนวิชาการ ติดตามและกำกับ สสอ. ตรวจคัดกรอง ค้นหากลุ่มเสี่ยง* ประเมินผล คืนข้อมูลให้พื้นที่ PCC/รพช./รพ.สต. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเสี่ยง >30% ได้รับยา ประเมินซ้ำ เสี่ยงลดลง รณรงค์ : สื่อสารความรู้ STEMI และวินิจฉัยเบื้องต้น รพศ. สนับสนุนด้านวิชาการ จัดอบรม/พัฒนาทักษะ ติดตามการดำเนินงาน อสม.มีส่วนร่วมในการรณรงค์ และคัดกรอง CVD Risk เครือข่าย *กิจกรรมเชิงรุก : ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยใช้ Thai CVD Risk score ในหน่วยงานภาครัฐ, เอกชน, สถานประกอบการ และประชาชนทั่วไป จำนวน 2,000 คน

17 แนวทางการแก้ปัญหาและพัฒนา
ปัญหา – อุปสรรค : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) สภาพปัญหา แนวทางการแก้ปัญหาและพัฒนา 1. ข้อมูลการคัดกรอง CVD Risk ยังไม่ถึง เกณฑ์เป้าหมายที่กำหนด 2. การคีย์ข้อมูลงานบริการโดยใช้โปรแกรม HosXP, HosPCU ในบางสถานบริการคีย์ข้อมูลการคัดกรอง แล้ว แต่ไม่สามารถส่งออกข้อมูลในระบบ 43 แฟ้มได้ 1. คืนข้อมูลรายชื่อผู้ป่วยเบาหวานและความ ดันโลหิตสูงที่ไม่ป่วยเป็นโรค CVD ที่ยัง ไม่ได้คัดกรอง CVD Risk ให้กับ พื้นที่ เพื่อแก้ไขข้อมูลในรายการข้อมูลที่ยัง ไม่ครบถ้วน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นข้อมูล SMOKING 2. ให้คำแนะนำการใช้โปรแกรมระบบ ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล43 แฟ้ม (EH) ในระดับผู้ปฏิบัติงาน

18 อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
เป้าหมาย < 7% 2557 2558 2559 2560 13.86* 14.92* 14.35* 12.81 โรงพยาบาล B A ร้อยละ พุทธชินราช 1,383 211 15.26 นครไทย 90 2 2.22 ชาติตระการ 10 1 บางระกำ 48 4.17 บางกระทุ่ม 11 พรหมพิราม 52 วัดโบสถ์ 19 10.53 วังทอง 69 1.45 เนินมะปราง 27 จังหวัด 1,709 219 12.81 ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 6 กรกฎาคม 2560 B หมายถึง จำนวนครั้งของการจำหน่ายทุกสถานะของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจากทุกหอผู้ป่วย ในช่วงเวลาเดียวกัน A หมายถึง จำนวนครั้งของการจำหน่ายผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตายจากทุกหอผู้ป่วย

19 ลงเยี่ยม "พี่ช่วยน้อง“
แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม : ลดอัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (< 7%) สสจ. ประชุม จนท. ผลิตสื่อต้นแบบ ติดตาม EDIS ปี 2559 "พี่ช่วย น้อง" ค้นหากลุ่มเสี่ยง* Focus Area ประเมิน ผล คืนข้อมูล ให้พื้นที่ สนับสนุน วิชาการ ติดตาม และกำกับ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. T1 T2 T3 T4 สสอ. สนับสนุนด้านวิชาการ รณรงค์ Stroke Day 3 วัน ลงเยี่ยม "พี่ช่วยน้อง“ ประเมินผล รพศ. PCC/รพช./รพ.สต. รณรงค์ : สื่อสารความรู้ Stroke, ตรวจคัดกรอง, วินิจฉัยเบื้องต้น และ ดูแลผู้ป่วย Stroke โดยใช้ Model Stroke home ward care ตั้งทีมสหวิชาชีพ และลงเยี่ยม ทุกเดือน อสม.ร่วมรณรงค์ และคัดกรอง CVD Risk EDIS* เครื่องตรวจความเสี่ยงโรคสมองขาดเลือด (Early Detected Ischemic Stroke Device) กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้ป่วย DM HT กลุ่มเสี่ยง และประชาชนทั่วไป เครือข่าย

20 ค้นหากลุ่มเสี่ยง..เกิดโรคหลอดเลือดสมองในชุมชน
โดยใช้เครื่องตรวจความเสี่ยงโรคหลอดเลือดแดงอุดตัน (Early Detected Ischemic Stroke Device : EDIS) กลุ่มเป้าหมาย (จำนวน 2,500 ราย) 1. ผู้ป่วยที่มีภาวะสมองขาดเลือดชั่วคราว (Transient ischemic attack, TIA) 2. ผู้ป่วย DM , HT ที่ประเมิน CVD Risk ที่มีผลมากกว่า 30 % คืออยู่ในกลุ่มระดับ 4(เสี่ยงสูงมาก) และกลุ่มระดับ 5 (เสี่ยงสูงอันตราย) 3. กลุ่มเสี่ยง เช่น อ้วน ฯลฯ 4. ประชาชนทั่วไป และผู้สนใจ ปกติ อุดตัน รวมทั้งหมด ไม่พบการอุดตัน ระดับต่ำกว่า 50% ระดับเฝ้าระวัง 70 – 90% ระดับรุนแรง > 90% (ราย) 547 (32.35%) 918 (54.29%) 226 (13.36) 1691 เน้น : การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และ การดูแลตนเอง ควรพบแพทย์ เน้น : การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เน้น : Stroke Fast Track : การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

21 ปัญหา – อุปสรรค และโอกาสพัฒนา
ปัญหา/อุปสรรค โอกาสพัฒนา 1. ผู้ป่วย Stroke ..ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่ไม่ สามารถมารพ.เองได้ ต้องรอลูก-หลานพาส่ง รพ. ทำให้เลยระยะเวลาที่กำหนด พัฒนาเครือข่ายการดูแลช่วยเหลือประชากรในพื้นที่ / ผู้ดูแลช่วยเหลือผู้ป่วย ร่วมกับ เครือข่ายในชุมชน 2. ผู้ป่วยที่เป็น Stroke ..ไม่สนใจตนเอง เพิกเฉยและ ไม่เข้าร่วมกิจกรรมคัดกรองกลุ่มเสี่ยง ปฏิบัติตนไม่ ถูกต้องทำให้เป็น Stroke (การเข้าถึงบริการ) พัฒนาการให้ข้อมูลเชิงรุก เพื่อความเข้าใจถึงอาการหรือสัญญาณอันตรายของ Stroke ได้แก่กลุ่มเสี่ยงสูงมาก สูงอันตราย และช่องทาง 1669 3. โรงพยาบาลนครไทย..เป็นพื้นที่ห่างไกลไม่มี ผู้ป่วยปี 2559 ที่เข้าถึงยาละลายลิ่มเลือด rt-PA พัฒนาการให้ยา rt-PA ได้ (CT out source) ของ รพ.นครไทย โดยมีรพ.พุทธชินราช พิษณุโลก เป็นพี่เลี้ยง 4. บุคลากร .. ขาดความรู้ จากการเปลี่ยนหน้าที่ รับผิดชอบและมีบุคลากรใหม่ ควรจัดวิชาการระดับเขต เพื่อให้ความรู้แก่บุคลากรจบใหม่ ฟื้นฟูความรู้บุคลากร และผู้รับผิดชอบงานใหม่อย่างต่อเนื่อง 5. พื้นที่ ..การคืนข้อมูลผู้ป่วย Stroke ให้กับพื้นที่ ดูแลต่อเนื่องหลังจำหน่ายล่าช้า ปัจจุบันใช้ Line Group, ส่งฐานข้อมูล Stroke จากเวชระเบียน รพ.พุทธชินราช และควรส่งเสริม สนับสนุน การใช้โปรแกรม Thai COC ส่งผู้ป่วยดูแลต่อเนื่อง ในปี 2561

22 โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

23 จำนวนผู้ป่วย COPD จังหวัดพิษณุโลก ( จาก HDC 11 กค. 60)

24 เป้าหมาย : ไม่เกิน 130 ครั้ง/แสนประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป
อัตราการเกิดอาการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง จังหวัดพิษณุโลก (1 ต.ค ก.ค 2560: 9 เดือน) เป้าหมาย : ไม่เกิน 130 ครั้ง/แสนประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ประชากรจังหวัดพิษณุโลก 532,545 คน

25 การพัฒนาบริการ : เป้าหมายเพื่อ ลดการอัตราการกำเริบที่ห้องฉุกเฉิน เป้าหมาย : ไม่เกิน 130 ครั้ง/แสนประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป - จัดทำ CPG บริการฉุกเฉิน ร่วมกันในเครือข่าย รพช. และ รพศ. - พัฒนาคุณภาพคลินิก COPD คุณภาพ (บันทึกข้อมูล : กรมการแพทย์) - Spirometry ยืนยัน DX / ปรับการรักษา - การฟื้นฟูสมรรถภาพปอด ( 6-mini ) - การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ - ประเมินความเหนื่อย (mMRC) - ประเมิน CAT (COPD Assessment Test) - การบริหารยาตรงตามระดับความรุนแรงของโรค - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ : Case Study รพช. กับ รพศ. ในการประชุมแต่ละครั้ง

26 ปัญหา อุปสรรค และโอกาสพัฒนา
ประเด็น โอกาสพัฒนา 1. การวินิจฉัย ด้วย Spirometry ไม่ ครอบคลุมและล่าช้า (ตอนนี้มีอยู่ 3 เครื่อง) 1. ทำแผนจัดซื้อ เครื่อง Spirometry ระดับเขต (5 ปี)/ ส่ง จนท ฝึกอบรม 2. การส่งต่อ/ตอบกลับผลการตรวจสมรรถภาพ ปอดแบบ one stop service (ใน 1 วัน จาก รพช. มา รพศ.) 2. ฐานข้อมูลผู้ป่วย COPD ฉีด Influenza vaccine สืบค้นไม่ได้ 1. การแยกข้อมูล COPD ที่ได้ฉีดวัคซีน (แยกเฉพาะโรค) การบันทึกข้อมูลประวัติการเจ็บป่วยและการรักษาไม่เหมือนกัน 1. ประชุมทีมผู้ปฏิบัติงานเครือข่ายให้บันทึก QOC (COPD Quality of Care) ในระบบ internet 4. ผู้ป่วยขาดความรู้ในการ Self care เมื่อมีอาการกำเริบ 1. เสริมความรู้ในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันและ ช่องทางการเข้ารับบริการ เมื่อเกิดอาการ 2. ประสานการดูแลร่วมกับเครือข่ายในจังหวัด (ส่งต่อเยี่ยมบ้าน ทาง Line กลุ่มเยี่ยมบ้าน)

27 ปัญหา อุปสรรค และโอกาสพัฒนา
ประเด็น โอกาสพัฒนา 5. รพช. ขาดยา กลุ่ม. LABD(LAMA,LABA) เพื่อใช้กับ ผู้ป่วย COPD ที่มี Emphysema, chronic Bronchitis, Co-morbidity 1. ผลักดันการใช้ยาให้อยู่ในบัญชียาหลัก

28 ขอบคุณค่ะ...


ดาวน์โหลด ppt สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google