งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การตรวจราชการและนิเทศงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การตรวจราชการและนิเทศงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การตรวจราชการและนิเทศงาน
ผลการดำเนินงาน การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบที่ 1/2562 26-28 พฤศจิกายน 2561 SUNGAIKOLOK HOSPITAL นพ.พรประสิทธิ จันทระ

2 ประเด็นนำเสนอ บริบท การพัฒนาบริการ Service Plan ประเด็นสำคัญอื่นๆ

3 1 บริบท

4 ข้อมูลทั่วไป S รพท.ระดับ M1 จำนวน 210 เตียง ประชากร 76,746 คน
F2 S F2 F2 F1 F1 F2 F2 F2 รพท.ระดับ M1 จำนวน 210 เตียง ประชากร 76,746 คน รับผิดชอบ รพ. ชุมชน 5 แห่ง รพ. สต. 4 แห่ง ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง 2 แห่ง F2 M1 F2 F2 4 4

5 ข้อมูลโรงพยาบาล วิสัยทัศน์ พันธกิจ เข็มมุ่ง
โรงพยาบาลและเครือข่ายสุขภาพ หนึ่งในใจประชาชนชายแดนใต้ วิสัยทัศน์ ให้บริการด้านสุขภาพแบบองค์รวมอย่างมีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ส่งเสริมการเรียนรู้คู่คุณธรรม พันธกิจ พัฒนาการดูแลผู้ป่วยรายโรค สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย (2P SAFETY) เข็มมุ่ง

6 จำนวนแพทย์เฉพาะทาง แพทย์เฉพาะทาง 2560 2561 อายุรศาสตร์ 5 4
เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 1 ศัลยกรรมระบบประสาท - ศัลยกรรมระบบทางเดินปัสสาวะ - - ศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ 2 - ศัลยศาสตร์ - กุมารเวชกรรม - จักษุวิทยา - สูติ-นรีเวชกรรม - วิสัญญีวิทยา - รังสีวิทยา - โสต ศอ นาสิก - จิตเวช - แพทย์ใช้ทุน 12 รวม 31 จำนวนแพทย์เฉพาะทาง ที่มา : งานแผนและพัฒนาบุคลากร ตุลาคม 2561

7 ศักยภาพในการให้บริการ
บุคลากร คน จำนวนผู้ป่วยนอกเฉลี่ยวันละ คน อัตราการครองเตียง % ห้องผ่าตัด ห้อง PACU (post anes. Care unit ) เตียง ศูนย์ส่องกล้องและสลายนิ่ว ห้อง จำนวนเตียง ICU/NICU/SICU เตียง ห้อง Negative pressure ห้อง ห้องตรวจระบบทางเดินหายใจ ห้อง Stroke Unit เตียง

8 จำนวนผู้ป่วยนอก จำนวนผู้ป่วยใน 5 อันดับโรคผู้ป่วยนอก 5 อันดับโรคผู้ป่วยใน

9 ดัชนี Case Mix Index (CMI)
เกณฑ์เป้าหมาย ไม่ต่ำกว่า 1.00 ปีงบประมาณ ผลการดำเนินงาน Sum Adj.RW Case (N) CMI ปี 2557 15,659.08 15,628 1.00 ปี 2558 15,566.72 15,168 1.02 ปี 2559 15,066.69 15,011 ปี 2560 14,373.66 13,956 1.03 ปี 2561 16,202 1.07 1.07 1.03 1.02 1.00 1.00 2557 2558 2559 2560 2561 กลุ่มผู้ป่วยในที่มารับการรักษามากที่สุด 5 อันดับแรกคือ มารดาตั้งครรภ์ คลอด ระยะหลังคลอด คิดเป็น 15.83% ค่า AdjRW เฉลี่ยอยู่ที่ 0.386 ผู้ป่วยกลุ่มระบบทางเดินอาหาร คิดเป็น 13.28% ของผู้ป่วยทั้งหมด โรคที่มารับการรักษามากที่สุด ประกอบด้วยผู้ป่วยโรค AGE, Gastritis ค่า AdjRW เฉลี่ยอยู่ที่ และในกลุ่มนี้จะมีผู้ป่วย CA ที่มีค่า AdjRW ค่อนข้างสูง เฉลี่ยรวม อยู่ที่ 2.65 กลุ่มทารกแรกเกิด ส่วนใหญ่จะเป็นทารกคลอดปกติซึ่งจะมีค่า AdjRW เฉลี่ยอยู่ที่ 0.228 ผู้ป่วยกลุ่มทางเดินหายใจ คิดเป็น 10.56% กลุ่มนี้จะประกอบไปด้วยผู้ป่วย COPD จะมีค่า AdjRW เฉลี่ยอยู่ที่ กลุ่ม URI, Bronchitis, Asthma ที่มา : งานเวชสารสนเทศ, ตุลาคม2561

10 สถานการณ์ความไม่สงบ ที่มา : งานจิตเวช ,กันยายน 2561

11 สถานการณ์โรคหัดในพื้นที่
ความครอบคลุมวัคซีน MMR1;MMR2 คปสอ.ม.สุไหงโก-ลก ปี พ.ศ. อำเภอ สุไหงโก-ลก จำนวนผู้ป่วย ส่งตรวจ Lab ผล Positive 2559 21 11 2 2560 33 20 10 2561 7 ความครอบคลุมวัคซีนเด็ก ปี คปสอ.ม.สุไหงโก-ลก ปี 2561 2561 : อายุน้อยกว่า 2 ปี 6 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิตจากโรคหัด กลุ่มเป้าหมายฉีดวัคซีนหัด : 9 เดือน - 5 ปี (ปี 2561ครอบคลุมถึง 15 ปี + เจ้าหน้าที่กลุ่มเสี่ยง) มาตรการเชิงรุก : ออกฉีดวัคซีนตามบ้าน

12 2 การพัฒนาบริการ

13 ระบบด่านหน้า Paperless Hospital ห้องบัตรบริการแบบ one stop service
(ER /ทันตกรรม /OPD ทั่วไป / ศัลยกรรม / ศัลยกรรมกระดูก / อายุรกรรม /ANC /โรคเด็ก Paperless Hospital Paperless hos พัฒนาใบนำทาง ยกเลิกใบสั่งยา ห้องบัตรไปอยู่จุดตรวจ บริการแบบ one stop service เรื่องการลงสิทธิ์ การadmit จองห้อง ทำให้ผป.ไม่ต้องเดินไปมาหลายรอบ

14 Smart Hospital Application Kolok 4.0 โรงพยาบาล 4.0 ตามนโยบายรัฐ
ร้อยละของหน่วยบริการระดับทุติยภูมิและตติยภูมิสามารถแลกเปลี่ยน ข้อมูลสุขภาพได้ (Health Information Exchange (HIE)) ร้อยละของประชาชนเข้าถึงข้อมูลสุขภาพตนเองได้ (Personal Health Record)

15 ผ่านการรับรองการตรวจศูนย์ราชการสะดวก ปี 2561
Paperless Hospital One day surgery Mobile Application EM น้ำหมักชีวภาพ นายพศิน โกมลวิชญ์ ผู้ตรวจราชการพิเศษ สำนักนายกรัฐมนตรี 9

16 Application เพื่อชาวนราธิวาส
16

17 Application เพื่อชาวนราธิวาส

18 ระบบการจองคิวล่วงหน้า
พยาบาล ผู้ใช้บริการ - ลงวันแพทย์ออกตรวจ - ตรวจสอบข้อมูลการจอง - เปลี่ยนสถานะผู้ใช้บริการ - บันทึกนัดลง HOSXP - เลือกคลินิก - เลือกวันจอง - กรอกข้อมูล ประโยชน์ แก้ไขปัญหา ผู้ใช้บริการเดินมาที่คลินิก - ให้ผู้ใช้บริการลงนัดเองจาก QRcode ที่ติดหน้าห้อง แก้ไขปัญหา ผู้ใช้บริการต้องการจองจากนอกโรงพยาบาล - จองผ่านทางเวบไซต์ แก้ไขปัญหา การปิดบัตร สามารถให้ผู้ใช้บริการเลือกจองเองได้ แก้ไขปัญหา แก้ไขการมาของผู้ใช้บริการแล้วไม่ได้ตรวจเพิ่มช่องทางการได้รับบริการ แก้ไขปัญหา ผู้ใช้บริการได้รับการนัดจาก รพสต. ได้เข้าคลินิกพิเศษทันที

19 พัฒนาบริการ ER : ลด ER Crowding
ระบบการคัดแยกผู้ป่วย รักษาพยาบาล ตามความรุนแรง ตามมาตรฐานESI (emergency severity index) Opd นอกเวลา ตั้งแต่ 16:30-20:30น ลดเอกสาร และขั้นตอนในER มีระบบ fast track ในโรค STEMI, STROKE, Sepsis, Newborn, Trauma, Eclampsia จัดระบบบริการการดูแลผู้ป่วยวิกฤต ในห้องฉุกเฉินไม่เกิน2 ชม

20 ระยะเวลาเฉลี่ยในห้อง ER

21 Stroke Unit Stroke อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน 2561 4.21% 2560 6.01% 2559 3.56% 2558 2.6% 2557 4.2% ผ่านการรับรองจากสถาบันประสาทวิทยา ด้วยผลดีเยี่ยม เป็นตัวแทนไปแชร์ระดับเขต

22 ผลการดำเนินงาน Stroke รพ.สุไหงโกลก
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงานที่ปฏิบัติได้ 2559 2560 2561 2562 (ไตรมาส 1) อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ≤7% 11.42 (41/359) 6.50 (26/400) 6.14 (32/521) 4.28 (3/70) อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก ≤25% 27.36 (29/106) 16.38 (19/116) 18.91 (21/111) 8.69 (2/23) อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ/อุดตัน ≤5% 4.74 (12/253) 2.46 (7/284) 2.68 (11/410) 2.05 (1/49) ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีอาการไม่เกิน 72 ซม. ได้รับการดูแลในStroke Unit ≥40% 45.96 (165/359) 67.5 (270/400) 69.48 (362/521) 61.43 (43/70) ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะเฉียบพลันที่มีอาการไม่เกิน 4.5 ซม.ได้รับการรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือดใน 60 นาที (door to needle time) ≥50% (2562) เป้าหมายเดิม > 20 % 41.03 (16/39) 29.63 (16/54) 34.62 (18/52) 33.33 (1/3) ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตกได้รับการผ่าตัดสมองภายใน 90 นาที (door to operation room) ≥60% na 1.8 (2/111) (0/23)

23 ผลการดำเนินงาน STROKE รพ.สุไหงโกลก
วิเคราะห์ปัญหา /แนวทางแก้ไข ประชาชนขาดความรู้เกี่ยวกับโรค การประเมินผู้ป่วยและการส่งต่อจาก รพช. ล่าช้าและญาติตัดสินใจเรื่องการรักษาล่าช้า ประชาชนบางส่วนยังไม่ทราบว่ามีบริการรถฉุกเฉิน 1669 แผนพัฒนา1-2ปี 1.external process ประกันเวลาให้อยู่ใน รพช.ไม่เกิน 30 นาที กรณีความดันสูง ให้ยาลดความดันตั้งแต่อยู่รพช. ให้ความรู้ญาติและให้ญาติตัดสินใจการรักษาให้เร็ว ประชาสัมพันธ์บริการรถฉุกเฉิน 1669 2.Internal process - ปรับระยะเวลารอคอย CT , LAB ให้เร็วขึ้น อัตราผู้ป่วย Stroke ที่มาทันเวลาภายใน 4.5 ชั่วโมง และได้รับการรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือดภายใน 60 นาที (Door to needle time) เป้าหมายใหม่ 50% (เป้าหมายเดิม 20%)

24 ศูนย์ส่งต่อระหว่างประเทศ เริ่มตั้งแต่ปี 2560
โดยการประสานงานร่วมระหว่างกระทรวงมหาดไทยต่างประเทศ สาธารณสุข ประสานงานหลักระหว่าง รพ.สุไหงโก-ลก กับ Raja Perembun zainab ll เหตุผล - ปัญหา ด้านเศรษฐกิจและค่าใช้จ่าย - ผู้ป่วยต้องการกลับ  ปัญหา - โอกาสพัฒนา - การประสานงาน - พิธีการศุลกากร ในเรื่อง การเข้าออกเมืองผิดกฎหมาย - ปัญหายาเสพติด - equipment ที่ไม่เท่ากัน - การส่งต่อ โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ผู้ป่วยส่วนใหญ่ “Trauma”

25 Retina Center

26 การบริการรถโมบายเคลื่อนที่ "สิริเวชยาน"
การบริการรถโมบายเคลื่อนที่ "สิริเวชยาน"  เริ่มให้บริการครั้งแรก ในวันที่ 18 ก.ค. 61

27 3 Service Plan

28 Service Plan สาขา โรคไม่ติดต่อ

29 อัตราตายผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (< ร้อยละ 7 )
ปัญหาอุปสรรค์ แนวทางแก้ไข ผู้ป่วยมารับบริการล่าช้าเนื่องจากขาดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง ประชาสัมพันธ์ สัญญาณเตือนภัยแก่ผู้ป่วยและญาติ ญาติตัดสินใจช้าในการรับการรักษาที่ถูกต้อง ให้ความรู้ญาติ ตั้งแต่ รพช. ถึงกระบวนการรักษาที่ถูกต้อง ขาดบุคลากรเฉพาะทาง อายุรแพทย์ประสาท ไม่มี อบรมให้ความรู้บุคลากร Stroke Unit จำนวน 13 เตียง ตากใบ บาเจาะ ยี่งอ รือเสาะ ระแงะ เจาะไอร้อง เมืองนราธิวาส ศรีสาคร จะแนะ สุไหงปาดี แว้ง สุคิริน สุไหงโกลก 9 นวัตกรรม 1. เครื่องออกกำลังกายแขน ขา two in one ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2. โปรแกรมให้ความรู้ในการทำกายภาพบำบัดแก่ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 4

30 อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงคุมระดับความดันได้ดี (> ร้อยละ 50)
จังหวัดนราธิวาส ปี ตากใบ บาเจาะ ยี่งอ รือเสาะ ระแงะ เจาะไอร้อง เมืองนราธิวาส ศรีสาคร จะแนะ สุไหงปาดี แว้ง สุคิริน สุไหงโกลก อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงคุมระดับความดันได้ จังหวัดนราธิวาส ปี 2561 เปรียบเทียบจากผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียน และผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจ 2 ครั้ง/ปี  น้อยกว่าร้อยละ 50  มากกว่าร้อยละ 50 ที่มา : HDC กันยายน 2561

31 อัตราผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี (> ร้อยละ 40)
จังหวัดนราธิวาส ปี บริบท ปี2561 อัตราป่วยรายใหม่ HT ร้อยละ 4.16 DM ร้อยละ 1.39 ยอดผู้ป่วยสะสม - DM 22,947 คน ความชุก ร้อยละ 2.89 HT จำนวน 69,873 คน ความชุก ร้อยละ 8.83 อัตราผู้ป่วยเบาหวานคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ จังหวัดนราธิวาส ปี 2561 เปรียบเทียบจากผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียน และผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจ hba1c ตากใบ บาเจาะ ยี่งอ รือเสาะ ระแงะ เจาะไอร้อง เมืองนราธิวาส ศรีสาคร จะแนะ สุไหงปาดี แว้ง สุคิริน สุไหงโกลก  น้อยกว่าร้อยละ 40  มากกว่าร้อยละ 40 ที่มา : HDC กันยายน 2561

32 1.พัฒนาระบบบริการ 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากร 3.พัฒนาระบบข้อมูล
มาตรการในการดำเนินงาน ผู้ป่วยเบาหวาน และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงคุมระดับโรคได้ดี ทบทวน CPG ติดตามประเมินผล บูรณาการร่วมกับ Service Plan สาขา ไต หัวใจ stroke และ สาขาที่เกี่ยวข้อง NCD Clinic คุณภาพ Plus 1.พัฒนาระบบบริการ จัด KM การดูแลผู้ป่วยเบาหวานแความดันโลหิตสูง เพิ่มพูนความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ในระดับโรงพยาบาลชุมชน อบรม MI สำหรับเจ้าหน้าที่ในการให้บริการผู้ป่วย 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากร แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานการจัดการข้อมูล ทบทวนระบบข้อมูล 43 แฟ้ม เวชระเบียนผู้ป่วย ทบทวนความถูกต้อง ครบถ้วน ของข้อมูลผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียน 3.พัฒนาระบบข้อมูล ปัญหาอุปสรรค การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนในรูปแบบของชุมชน ที่มีการบูรณาการร่วมกันหลายๆหน่วยงานในการส่งเสริมให้ประชาชนเป็นจุดศูนย์กลาง และภาคีเครือข่ายร่วมมือดำเนินกิจกรรม ยังมีการดำเนินที่ยังไม่ชัดเจน

33 Service Plan สาขา แพทย์แผนไทย

34 แผนงาน พัฒนาระบบบริการ โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพแพทย์แผนไทย
Service Excellence กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยฯ แผนงาน พัฒนาระบบบริการ โครงการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพแพทย์แผนไทย แผนงานที่ 6 ตัวชี้วัด/เป้าหมาย ร้อยละของผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่ได้รับบริการตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟื้นฟูสภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (18.5) สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน 1. การเข้าถึงบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกยังน้อย (ร้อยละ 22.68) 2. การใช้ยาสมุนไพรในหน่วยบริการสาธารณสุขภาครัฐยังน้อย (ร้อยละ 3.09) 3. บุคลากรยังขาดความรู้เชิงวิชาการ ความชำนาญเฉพาะด้านและความรู้เพิ่มเติมที่ควรรู้ 4. บุคลากรสหวิชาชีพ ขาดองค์ความรู้และไม่มั่นใจในประสิทธิภาพยาสมุนไพร 5. ประชาชนไม่ชอบใช้ยาสมุนไพรเนื่องจากต้องกินในปริมาณมาก ยุทธศาสตร์/ มาตรการ Strategy 1 นโยบายและบุคลากร Strategy 2 ส่งเสริมการเข้าถึงบริการ Strategy 3 ส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพร กิจกรรมหลัก 1.ทบทวนรูปแบบการบริการ (Service Package) ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกทุกระดับ 2. ขับเคลื่อนและผลักดันให้หน่วยบริการทุกระดับเข้าสู่กระบวนการ TTM HA 3. ผลักดันให้โรงผลิตยาสมุนไพรโรงพยาบาลจะแนะผ่านมาตรฐาน GMP และ มาตรฐาน PICs 4. อบรมพัฒนาศักยภาพด้านเวชกรรมไทยให้กับบุคลากรแพทย์แผนไทย 1.รพท./รพช.มีการจัดบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานที่มีคุณภาพมาตรฐาน ตามบริบท ของหน่วยบริการ 2.สนับสนุนให้มีการจัดบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือกใน รพสต. 3.ส่งเสริมให้ cup ที่ได้รับงบขยายอาคารฯ จ้างแพทย์แผนไทย ประจำ รพ.สต. 3. สร้างช่องทางการสื่อสารข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ยาและสมุนไพรไทยให้หลากหลาย เพื่อให้ประชาชน “รู้จัก เชื่อมั่น ชอบ ใช้” บริการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร 1..เพิ่มการเข้าถึงของประชาชนโดยการส่งเสริมการปลูกสมุนไพรที่บ้าน, มียาสมุนไพรในตู้ยาสามัญประจำบ้านและมียาสมุนไพรติดตัว 2.ส่งเสริมให้มีการใช้ยาสมุนไพรทดแทนยาแผนปัจจุบัน 3.สำรวจและขึ้นทะเบียนหมอพื้นบ้านและตำรับตำรายาสมุนไพรจังหวัดนราธิวาส 4. สำรวจสมุนไพรท้องถิ่น จังหวัดนราธิวาส

35 ร้อยละของผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่ได้รับบริการตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟื้นฟูสภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (18.5) ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยฯ ที่ได้มาตรฐาน ย้อนหลัง 5 ปี

36 ความภาคภูมิใจ จากการร่วมมหกรรมการแพทย์แผนไทย ระดับภาคใต้ ระหว่างวันที่ เมษายน 2561 ณ อนุสรณ์สถานเรือ จังหวัดพังงา ทั้งนี้จังหวัดนราธิวาสได้รับรางวัลการประกวดดังนี้ รางวัลชนะเลิศการประกวดบูทนิทรรศการประเภทความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) รางวัลชนะเลิศ การประกวดผลงานวิชาการ R2R ประเภท Poster Presentation เรื่อง ผลของการออกกำลังกายด้วยท่าฤๅษีดัดตนให้ผู้ป่วยปวดหลังส่วนล่าง รพ.จะแนะ รางวัลชมเชย ประกวดผลงานวิชาการประเภทงาน นวัตกรรมนำเสนอแบบ Poster Presentation เรื่อง กระดานไม้ออกกำลังกายและบริหารร่างกาย Three in one รพ.สุคิริน

37 Service Plan สาขา Palliative care

38 ผลการดำเนินงาน ปี 2561 *ปี 2562 ผู้ป่วยได้รับการบรรเทาอาการปวดด้วย OPIOID > 40%

39 ปัญหาอุปสรรคและแนวทางพัฒนา
ผลงานเด่น บริหารจัดการ morphine ให้ครอบคลุมทั้งจังหวัด อบรม Palliative Care ให้ care giver แนวทางการดูแลเหมือนกันทั้งจังหวัด บูรณาการกับ service plan มะเร็ง ไต บริจาคอวัยะ ทำโครงการร่วมกับ สปสช และ อบต (24-25มกรา 62) ทบทวนการวินิจฉัย Z515 พัฒนาโปรแกรม COC มี Time line ในการเยี่ยมผป. พัฒนาแนวทางในการบริหาร Mo ออกนอก รพ. ใช้แพทย์ทางเลือกเพื่อบำบัดอาการต่างๆ จัดตั้งศูนย์เครื่องมือแพทย์ในแต่ละรพ.และสามารถหมุนเวียนยืมใช้ในเครือข่ายภายในจังหวัด จัดตั้งแผนพัฒนาบุคลากรอบรมPCNหลักสูตร3สัปดาห์ปีละ2ท่าน อบรมเฉพาะทางหลักสูตร4เดือนปีละ1ท่าน ขาดแพทย์พยาบาลผู้รับผิดชอบเต็มเวลา การบริหารยา MOและอุปกรณ์การแพทย์ที่จำเป็นให้ผู้ป่วยกลับบ้าน การมีส่วนร่วมกับภาคีเครื่อข่ายจัดการข้อมูล โครงการ การเยี่ยมบ้าน แผนพัฒนาปี 2562 มีศูนย์คลังอุปกรณ์ประจำจังหวัด นำแพทย์แผนไทย/ทางเลือก ทำโครงการ PC ของบจาก สปสช บูรณาการกับ service plan เกี่ยวข้อง มะเร็ง บริจาคอวัยวะ นวัตกรรม/CQI/R2R

40 Service Plan สาขา ศัลยกรรม

41 การทบทวนปัญหา / อุปสรรค
เป้าหมาย ปี2561 : ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ ODS (ร้อยละ 15) เป้าหมาย ปี2562 : ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ ODS (ร้อยละ 20) ร้อยละความสำเร็จ ODS ปี 2561 ร้อยละความสำเร็จ ODS : ไตรมาส 1/2562 การทบทวนปัญหา / อุปสรรค แนวทางการพัฒนา 1. ประชาชนยังขาดความรู้ความเข้าใจในระบบบริการ ODSและยังยึดติดกับระบบบริการผ่าตัดแบบเดิม 1. ประชาสัมพันธ์ข้อดี และประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับจากการผ่าตัดแบบ ODS 2. พัฒนาระบบการติดตามเยี่ยมก่อน-หลังผ่าตัด สร้างความเชื่อมั่นในระบบบริการ ODS ด้าน patient safety 2. วัสดุ/ครุภัณฑ์การแพทย์ที่มีค่าใช้จ่ายสูง 3. การสนับสนุนด้านนโยบาย เรื่องงบประมาณค่าใช้จ่ายสูง 3. ศักยภาพการให้บริการODSยังไม่ครอบคลุมทุกโรค 4. ความพร้อมของบุคลากร/สถานที่ (ควรจะแยกUnitและผู้ประสานงานเฉพาะ) 5. การพัฒนาศักยภาพทีมendoscope surgery

42 Service plan Surgery ประเด็น : การพัฒนาระบบบริการศัลยกรรม
เป้าหมาย : เพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการ/ ลดอัตราการตาย ผลการดำเนินงาน: ปัญหาอุปสรรค ตัวชี้วัด 2561 ตค-พย61 MR. Ac. Abd (<4%) 4.66 % 2.38 % Rup. App. (<20%) 15.79% 12.68% Ac. Limb ischemia MR. (<20%) 5.26 % Amputation (<20%) 6.40 % 1.การใช้Alvarado Score ในการประเมินผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบยังไม่ครอบคลุม 2. การเข้าถึงบริการของผู้ป่วยล่าช้า (re-hos/in-hos) 3. การรายงานข้อมูลตามตัวชี้วัดยังไม่สมบูรณ์ แนวทางการดำเนินงาน/แก้ไขปัญหา ปี 2562 การดำเนินงานที่ผ่านมา ปี 2561 บูรณาการ ดูแลผู้ป่วยร่วมกันในเครือข่ายโดยใช้แนวทางการดูแลผู้ป่วยปวดท้องเฉียบพลันมาเป็น Guideline พัฒนาระบบการส่งต่อ ระหว่าง เครือข่าย พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ 1. ประสานงานร่วม PCT Surg.ปรับการติดตามตัวชี้วัดตามSP 2. พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยปวดท้องเฉียบพลันตามแนวทางของ Service plan Surgery

43 Service Plan สาขา ศัลยกรรมกระดูก

44 เข็มมุ่งการดำเนินงานปี 2562 ของเขตสุขภาพที่ 12 : ยุทธศาสตร์ Service Excellence
1.ประเด็น Service Plan Orthopedics 2. ตัวชี้วัด/เป้าหมาย : 1. มีที Refracture Prevention Team ในโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ และโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก แห่งละ 1 ทีม 2. ร้อยละของผู้ป่วย Refracture Prevention ที่ได้รับการผ่าตัดภายใน 72 ชั่วโมง หลังจากได้รับการรักษาในโรงพยาบาล (Eaely Surgery)>ร้อยละ30 3. ผู้ป่วย Refracture Prevention มีกระดูกหักซ้ำ<ร้อยละ 30 5. ผลการดำเนินงาน มี Refracture Prevention ทีม 2 ทีม มีเครือข่ายการดูแล Fracture Prevention ถึง รพช. แต่ละโรงพยาบาลมีแนวทางการดูแล Refracture Prevention 3. สถานการณ์ ข้อมูลของปี 2561 (11 เดือน) 1. ผู้ป่วย Refracture Prevention อายุมากกว่า 50 ปี จาก Minor Trauma ได้รับการผ่าตัดภายใน 72 ชั่วโมง 6. จุดอ่อน/จุดแข็ง/โอกาส/ปัญหาอุปสรรค มีแพทย์เฉพาะทางศัลยกรรมกระดูก จำนวน 5 คน ครอบคลุม 2 โรงพยาบาลและมีพยาบาลเฉพาะทางศัลยกรรมกระดูก โรงพยาบาลละ 1 คน (จุดแข็ง) โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์สามารถจัดให้มีการผ่าตัดผู้ป่วยนอกเวลา (จุดแข็ง) จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดภายใน 72 ชั่วโมงยังต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด (จุดอ่อน) ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวและระยะเวลาการตัดสินใจนาน ทำให้ระยะเวลาในการผ่าตัดไมเป็นไปตามเกณฑ์ รวมถึงเข้าถึง รพ.ช้า (จุดอ่อน) ไม่มีFracture Liaison Nurse ของแต่ละโรงพยาบาล (จุดอ่อน) ระบบข้อมูลการส่งต่อ Refer Back เพื่อ Refracture Prevention ไม่เป็นระบบ แนวทางการดูแล (CPG) ยังมีความแตกต่างกัน 7. มาตรการหลัก/แนวทางการดำเนินการ/แก้ไขปัญหาปี 2562 4. การดำเนินงานที่ผ่านมาปี 2561 1. พัฒนาแนวทางการดูแล (Guideline) กลุ่มผู้ป่วย Refracture Prevention ให้เป็นแนวทางเดียวกันครอบคลุมทุกระดับโรงพยาบาล 2. พัฒนาบุคลากรเป้าหมายให้มี Liaison Nurse ให้เพียงพอใน รพท.และพัฒนาบุคลากรใน รพช.ให้มีองค์ความรู้ บูรณาการการสร้าง Health Literacy ไปกับ Service Plan อื่น พัฒนาระบบการดูแลต่อเนื่องของกลุ่มผู้ป่วย Refracture Prevention กำกับติดตามทั้งการกำกับดูแลตัวชี้วัดทุกเดือน โดยใช้ระบบสารสนเทศ 1.มีการจัดตั้งทีม Refracture Prevention ในโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์และโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก แห่งละ 1 ทีม 2. มีการจัดทำฐานข้อมูลรายงานระดับเขต 3. รพ.ทั่วไปทั้ง 2 แห่งได้จัดให้มีการคัดกรองบุคคลที่เสี่ยงต่อภาวะกระดูกพรุน

45 4 ประเด็นสำคัญอื่นๆ

46 TB ประสิทธิผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรค ปี (ไตรมาส1) อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส อัตราสำเร็จของการรักษาวัณโรคปอดรายใหม่ ตัวชี้วัด ด้านการป้องกันควบคุมวัณโรค 1.อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ไตรมาส1/61 (ผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนเดือนตค.-ธค 60) Success Rate = % (9/11) 2. ความครอบคลุมการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ ปี2561(ผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนเดือน ต.ค.60 – ก.ย.61) TB Treatment Coverage = 59 % (72/122) - คาดประมาณจำนวนผู้ป่วยวัณโรค (156/แสน ปชก) - ประชากรอำเภอสุไหงโก-ลก เท่ากับ 78576คน - จำนวนผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ 72คน

47 การเข้ารับบริการผู้ป่วยนอก ของ PCC
ปูโย๊ะ มูโน๊ะ ปาเสมัส เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก 1 PCC= 2FCT ใกล้ใจ 1 ใกล้ใจ 2 ใกล้ใจ 3

48 ร้อยละของบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอของโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก
ลำดับ สายงานให้บริการทางการแพทย์ จานวนบุคลากรสาธารณสุขสายให้บริการทางการแพทย์ (ยกเว้นสายวิชาชีพขาดแคลน) ที่มีอยู่จริง[A] กรอบอัตรากาลังที่กำหนดในระดับหน่วยงาน ร้อยละบุคลากร สาธารณสุขเพียงพอ (≥ร้อยละ71)[C=(A/B)*100] 1 นายแพทย์ 36 39 92.3 2 ทันตแพทย์ 8 7 114.28 3 เภสัชกร 15 16 93.75 4 พยาบาลวิชาชีพ/พยาบาลเทคนิค 309 192 160.93 5 จพ.ทัตนสาธารณสุข 100 6 เจ้าพนักงานเภสัชกรรม 10 13 76.92 ช่างทันตกรรม นวก.สาธารณสุข/จพ.สาธารณสุข 23 53 43.39 9 แพทย์แผนไทย 60 นักเทคนิคการแพทย์/นักวิทยาศาสตร์การแพทย์/จพ.วิทย์ 25 52 รวม 422 355 118.87 จำนวนบุคลากรสายงานที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการทางการแพทย์ที่มีอยู่จริงของโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก เมื่อเทียบกับกรอบอัตรากำลังที่มีอยู่จริงนับรวมทุกประเภทการจ้าง 10 สายงาน มีสัดส่วนเกินร้อยละที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ที่ 70% อยู่ 6 สายงาน จากทั้งหมด 10 สายงาน

49 สถานะทางการเงิน ที่มา : การเงินและบัญชี, กันยายน 2561

50 ส่วนต่างรายได้หักค่าใช้จ่าย(IN)
การติดตาม Planfin ณ 30 ก.ย.61 รายการ คาดการทั้งปี แผนทั้งปี ประมาณการ ที่ควรเป็น ค่าที่เป็นจริง ส่วนต่าง รายได้ 538,732,510.81 576,126,111.47 558,059,828.27 -18,066,283.20 ค่าใช้จ่าย 531,555,812.45 556,318,438.05 540,928,832.07 -15,389,605.98 ส่วนต่างรายได้หักค่าใช้จ่าย(IN) 7,176,698.36 19,807,673.42 17,130,996.20 2,676,677.22 รายได้ ต่ำกว่าแผนที่ตั้งไว้เพราะ - รายได้ Uc (ได้น้อยกว่า แผน %) -24,194,191.19 ค่าใช้จ่าย - ค่าตอบแทน ไม่จ่ายฉ.10 (น้อยกว่าแผน -9.77%) -10,578,739.19 - ค่าใช้สอย (น้อยกว่าแผน-20.06%) -5,624,067.41

51


ดาวน์โหลด ppt การตรวจราชการและนิเทศงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google