งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
ทิศทางการพัฒนาส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม ยุค Thailand 4.0 ร้อยละของวัยทำงาน อายุ ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ

2 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ
กลุ่มเป้าหมาย วัยทำงานอายุ ปี ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 55 วิธีการจัดเก็บข้อมูล รพ.สต. และ PCU ของโรงพยาบาลบันทึกในโปรแกรมหลักของสถานบริการ เช่น JHCIS, HosXP PCU เป็นต้น และส่งออกข้อมูลตามโครงสร้างมาตรฐาน 43 แฟ้ม แหล่งข้อมูล Health Data Center (HDC) รายการข้อมูลสำหรับคำนวณผลงานตัวชี้วัดระดับขั้นความสำเร็จที่ 4 และ 5 - ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ รายการข้อมูล 1 A = จำนวนประชากรวัยทำงานอายุ 30 ปี-44 ปี มีดัชนีมวลกายปกติ รายการข้อมูล 2 B = จำนวนประชากรวัยทำงานอายุ 30 ปี-44 ปี ที่ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงทั้งหมด สูตรคำนวณตัวชี้วัด A/B * 100 ระยะเวลาประเมินผล กรมอนามัยประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ 2 รอบ คือ รอบที่ 1: 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2560–กุมภาพันธ์ 2561) รอบที่ 2: 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2561–กรกฎาคม 2561) เกณฑ์การประเมิน: ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานรอบ 5 เดือนแรก ขั้นตอน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 1 2 3 4 5

3 สำหรับศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา
รอบที่ 1: 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2560-กุมภาพันธ์ 2561) ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน แนวทางการประเมินผล 1 - มีสื่อการส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 4 ด้าน อย่างน้อย 1 จังหวัด/ศูนย์ - มีการดำเนินงานเฝ้าระวังพฤติกรรมที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน อย่างน้อย 1 จังหวัด - สื่อการส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ - เอกสารการดำเนินงานเฝ้าระวังพฤติกรรมที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน 2 มีรูปแบบการขยายผลการส่งเสริมสุขภาพที่พึงประสงค์โดยผู้นำสุขภาพในชุมชน/สถานบริการ/สถานประกอบการ อย่างน้อย จังหวัดละ 1 แห่ง - รูปแบบการขยายผลการส่งเสริมสุขภาพที่พึงประสงค์โดยผู้นำสุขภาพ 3 มีนโยบายสาธารณะ เกี่ยวกับ Healthy eating/Active living /Environmental health ในระดับพื้นที่ อย่างน้อย 1 เรื่อง/จังหวัด/ศูนย์อนามัย - สรุปนโยบายเกี่ยวกับ Health eating/Active living /Environmental health 4 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.75 จากค่า baseline ของแต่ละศูนย์อนามัย (ณ 25 ก.ย. 60 จาก HDC) - ข้อมูลจาก HDC 5 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2 จากค่า baseline ของแต่ละศูนย์อนามัย (ณ 25 ก.ย. 60 จาก HDC) คะแนนรวม

4 สำหรับศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา
รอบที่ 2: 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2561-กรกฎาคม 2561) ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน แนวทางการประเมินผล 1 มีสรุปรายงานการเฝ้าระวังพฤติกรรมที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน อย่างน้อย 1 จังหวัด/ศูนย์ - สรุปรายงานการเฝ้าระวัง 2 ได้นวัตกรรมชุมชน/องค์กร อย่างน้อย จังหวัดละ 1 เรื่อง - นวัตกรรมชุมชน 3 ได้นโยบายเกี่ยวกับ Healthy eating/Active living /Environmental health ในระดับพื้นที่ครบทั้ง 3 เรื่อง - นโยบายเกี่ยวกับHealth eating /Active living /Environmental health ในระดับพื้นที่ 4 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.2 จากค่า baseline ของแต่ละศูนย์อนามัย (ณ 25 ก.ย. 60 จาก HDC) -ข้อมูลจาก HDC -รายงานข้อมูลการดำเนินงาน 5 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.2 จากค่า baseline ของแต่ละศูนย์อนามัย (ณ 25 ก.ย. 60 จาก HDC) คะแนนรวม

5 สำหรับสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง
รอบที่ 1: 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2560-กุมภาพันธ์ 2561) ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน แนวทางการประเมินผล 1 - มีสื่อการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 4 ด้าน อย่างน้อย 1 เรื่อง (0.5 คะแนน) - มีการดำเนินงานเฝ้าระวังพฤติกรรมที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน ในพื้นที่ต้นแบบ อย่างน้อย 1 แห่ง (0.5 คะแนน) - สื่อการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ - เอกสารการดำเนินงานเฝ้าระวังพฤติกรรมที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน 2 มีรูปแบบการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ในพื้นที่ต้นแบบ อย่างน้อย 1 แห่ง -รูปแบบการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 3 มีนโยบายสาธารณะ เกี่ยวกับ Healthy eating/ Active living/ Environmental health ในระดับพื้นที่ อย่างน้อย 1 เรื่อง -สรุปนโยบายเกี่ยวกับ Health eating/Active living /Environmental health 4 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ ปี ในพื้นที่ต้นแบบ มีค่าดัชนีมวลกายปกติเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 จากค่า baseline -ข้อมูลจาก การสำรวจภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ในพื้นที่ต้นแบบ 5 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ ปี ในพื้นที่ต้นแบบ มีค่าดัชนีมวลกายปกติ เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.0 จากค่าbaseline คะแนนรวม

6 สำหรับสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง
รอบที่ 2: 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2561-กรกฎาคม 2561) ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน แนวทางการประเมินผล 1 มีสรุปรายงานการเฝ้าระวังพฤติกรรมที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน ในพื้นที่ต้นแบบ อย่างน้อย 1 แห่ง - สรุปรายงานการเฝ้าระวัง 2 ได้นวัตกรรมในพื้นที่ต้นแบบ อย่างน้อย 1 เรื่อง - นวัตกรรมในพื้นที่ต้นแบบ 3 ได้นโยบายเกี่ยวกับ Healthy eating/Active living /Environmental health ในระดับพื้นที่ครบทั้ง 3 เรื่อง - นโยบายเกี่ยวกับ Health eating /Active living /Environmental health ในระดับพื้นที่ 4 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ ปี ในพื้นที่ต้นแบบ มีค่าดัชนีมวลกายปกติเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.0 จากค่า baseline -ข้อมูลจาก การสำรวจภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ในพื้นที่ต้นแบบ - รายงานข้อมูลการดำเนินงาน 5 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ ปี ในพื้นที่ต้นแบบ มีค่าดัชนีมวลกายปกติ เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.0 จากค่า baseline คะแนนรวม

7 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google